วิทยาลัยเทคโนโลยีวชิราโปลีสงขลา อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในหน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เรื่อง ระบบนิเวศ โดยใช้กระบวนการสอนซ่อมเสริม ของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1/1 จำนวน 15 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 วิทยาลัยเทคโนโลยีวชิราโปลีสงขลา อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา โดย...นางสาวซารีฟะห์ หมุนนุ้ย ครูผู้สอนหมวดวิชาสามัญวิทยาลัยเทคโนโลยีวชิราโปลีสงขลา
ปัญหาการวิจัย จากการจัดการเรียนการสอน พบว่านักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 1/1วิทยาลัยเทคโนโลยีวชิราโปลีสงขลา อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในระดับเกณฑ์ต่ำ ในหน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เรื่อง ระบบนิเวศ ดังนั้นผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาการสอนซ่อมเสริม ว่าการสอนซ่อมเสริม จะทำให้นักศึกษามีผลการเรียนรู้ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นหรือไม่
วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในหน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เรื่อง ระบบนิเวศ โดยใช้กระบวนการสอนซ่อมเสริม ของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1/1 วิทยาลัยเทคโนโลยีวชิราโปลีสงขลา อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในหน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เรื่อง ระบบนิเวศ โดยใช้ กระบวนการสอนซ่อมเสริม ก่อนและหลังเรียนด้วยกระบวนการสอนซ่อมเสริม ของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1/1 วิทยาลัยเทคโนโลยีวชิรา โปลีสงขลา อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
กรอบแนวคิดในการวิจัย กระบวนการสอนเสริม เพื่อเน้นย้ำ และทบทวนเนื้อหาบทเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เรื่อง ระบบนิเวศ
ประชากร กลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1/1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 วิทยาลัยเทคโนโลยีวชิราโปลีสงขลา อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา จำนวน 35 คน กลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1/1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 วิทยาลัยเทคโนโลยีวชิราโปลีสงขลา อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา จำนวน 15 คน ซึ่งได้มาจากวิธีการคัดเลือกนักศึกษาที่มีผลการเรียนต่ำ และทำคะแนนสอบ เรื่อง ระบบนิเวศ ไม่ผ่าน 50%
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 9 เรื่อง ระบบนิเวศ โดยใช้กระบวนการสอนซ่อมเสริม แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยที่ 9 เรื่อง ระบบนิเวศ ชนิด 4 ตัวเลือก จำนวน 20 ข้อ โดยผู้สอนเป็นผู้สร้างขึ้นเอง
ตารางที่ 1….. แสดงคะแนน ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนก่อน และหลังเรียน ภายหลังได้รับการสอนด้วยวิธีการสอนซ่อมเสริม นักศึกษาคนที่ คะแนนก่อนเรียน เต็ม 30 คะแนน คะแนนหลังเรียน คะแนนที่เพิ่ม 1 13 23 10 2 11 21 3 14 27 4 5 6 7 8 12 26 9 25 24 15 16 17 X 12.2 25.3 13.1 SD 1.21 2.02 2.53
ตารางที่ 2 .....แสดงผลการวิเคราะห์ความแตกต่างของคะแนนก่อนเรียน และหลังเรียน ภายหลังได้รับการสอนด้วยวิธีการสอนซ่อมเสริม การทดลอง จำนวนนักเรียน (N) คะแนนเฉลี่ย (X) ∑D ∑D2 t-tas ก่อนเรียน 15 12.2 1.21 1.46 1.7613 หลังเรียน 25.3 2.02 4.0 *มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
สรุปผลการวิจัย - หลังเรียนซ่อมเสริมนักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้น และผล การเรียนของนักศึกษาหลังเรียนซ่อมเสริมสูงกว่าก่อนเรียน