เรื่องอากาศอยู่ที่ไหน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
Advertisements

ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
ประโยชน์ของ เครื่องโปรเจคเตอร์
การอบรมเชิงปฏิบัติการตามโครงการ
การทดลอง วัดปริมาตรของน้ำ
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
สื่อประกอบการเรียนรู้
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
Measurement of Gases KM 57.
เรื่อง หน้าที่ของลูกจ้างตามกฎหมาย ความปลอดภัยสารเคมี
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
การปลูกพืชผักสวนครัว
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Chalermsri Piapan
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ในวันหนึ่งๆสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
ในวันหนึ่งๆสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
ประดิษฐ์ของประดับตกแต่งบ้าน เพื่อลดภาวะโลกร้อน
การทดลองที่ 1 การหาความดันไอและความร้อนแฝง ของการเกิดไอของน้ำ
มวลโมเลกุลของของเหลวที่ระเหยง่าย
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
Ultrasonic sensor.
เรื่อง โครงงานสุขภาพ วิชา สุขศึกษา การทดสอบสบู่เหลว EXIT NEXT.
โครงงานสุขภาพ การทดลองผงซักฟอก.
เรื่องคลอรีนในน้ำบรรจุขวด
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
มลพิษทางอากาศ โชคชัย บุตรครุธ.
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “สถานการณ์มลพิษทางอากาศ ในบรรยากาศในภาคตะวันออก” หลักการและเหตุผล มลภาวะทางอากาศ (Air pollution) เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ.
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
- เช้านั่งรับประทาน อาหารได้ถึงเวลา ๘. ๐๐ น. หลังจากนั้น เป็นช่วงเวลาทำความ สะอาด - กลางวัน ประถมและ มัธยมใช้ได้ตั้งแต่เวลา ๑๑. ๓๐ ถึง ๑๒. ๑๕ น.
ศูนย์เฝ้าระวังการเจ็บป่วยจากความร้อน รพ.พระมงกุฎเกล้า
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
ห้องฉุกเฉิน 4 : ปอดจ๋า ห้องฉุกเฉิน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4: ปอดจ๋า.
เครื่องถ่ายเอกสาร.
การบริหารยาทางฝอยละออง
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
นวัตกรรม ของ งานจ่ายกลาง และงานซ่อมบำรุง ปี 2552
การปลูกพืชผักสวนครัว
ความปลอดภัยในการใช้ก๊าซ
มหัศจรรย์ ... กระดาษแสนกล
การเขียน.
การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
ซ่อมเสียง.
การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแนว 7 Es
ท่านนึกถึงหลักฐานอะไรบ้าง ? การพิจารณาคดี ที่ต้องมีการพิสูจน์หลักฐาน.
โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย
วิธีการคิดวิเคราะห์.
รหัสวิชา ภาคต้น ปีการศึกษา 2556
กิจกรรมชุดที่ 10 รู้จักแรงเสียดทาน.
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
การหักเหของแสงในตัวกลางต่างชนิดกัน
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ปิโตรเลียม.
ถังเก็บน้ำมันใต้พื้นดินและถังเก็บน้ำมันบนดิน
โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย
ปฏิบัติการเรื่อง การกลั่น
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
วงจรอัดอากาศรถจักร ALSTHOM
สมดุลเคมี เช่น น้ำ (ของเหลว)
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ความกระด้างของน้ำ (water Hardness)
การทัศนศึกษา.
ประกาศอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานเรื่อง กำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข วัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักรที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน.
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่องอากาศอยู่ที่ไหน วิทยาศาสตร์ ป.3 เรื่องอากาศอยู่ที่ไหน ครูกัลยาภรณ์ จันตรี

ทบทวน

อากาศ (Air)

อากาศ (air) อากาศ เป็นสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่มีอยู่ทั่วไปทุกหนทุกแห่งเราไม่สามารถมองเห็นอากาศได้ แต่เรารู้สึกได้  อย่างไร?? ให้นักเรียนลองโบกมือไปมา บริเวณใบหน้าของตนเอง นักเรียนจะรู้สึกว่ามีสิ่งหนึ่งมาปะทะที่ใบหน้าสิ่งนั้นก็คือ อากาศ

องค์ประกอบของอากาศ อากาศประกอบด้วย ออกซิเจน (O2) 21% คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ไอน้ำ (H2O) และอื่นๆ (เช่น ฝุ่นละออง) อากาศที่มีฝุ่นละอองปะปนอยู่มากมีผลต่อสุขภาพ โดยเฉพาะระบบหายใจ แก๊สไนโตรเจน (N2) 78%

สิ่งที่เจือปนในอากาศ ฝุ่นละออง เป็นสิ่งที่ปะปนอยู่ในอากาศ

อากาศมีอยู่ที่ไหนบ้าง??? ในร่างกายคน มีอากาศหรือไม่? ในสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆมีอากาศอยู่หรือไม่ ? อากาศมีอยู่ทุกหนแห่งรอบตัวเรา รวมถึงภายในร่างกายของเรา ภายในวัตถุสิ่งของต่างๆ โดยอากาศไม่สามารถมองเห็นได้ แต่สามารถสัมผัสได้

เรามาพิสูจน์กันเถอะว่าอากาศอยู่ในไหน ปัญหา/ข้อสงสัย อากาศมีอยู่ทุกที่จริงหรือไม่

อุปกรณ์ เปลือกหอย แท่งชอล์ค ฟองน้ำ ดิน พลาสติก

1.ให้นักเรียนจับอากาศใส่ถุง วิธีทดลอง 1.ให้นักเรียนจับอากาศใส่ถุง พลาสติก

2. ให้ความร้อนแก่น้ำในบีกเกอร์ ตะแกรง ที่กั้นลม ตะเกียงแอลกอฮอล์

3. เป่าลมเข้าไปในแก้วที่มีน้ำเต็มซึ่งคว่ำอยู่ในอ่าง

4. หย่อนวัตถุต่างๆลงในภาชนะใส เติมน้ำในบีกเกอร์ประมาณ 250 มิลลิลิตร นำวัตถุต่างๆ หย่อนลงในน้ำ สังเกตและบันทึกผล จากนั้นเปลี่ยนเป็นวัตถุชนิดอื่นๆ หย่อนตัวอย่างดิน

ตารางบันทึกผล ตารางบันทึกผลเรื่อง แหล่งที่อยู่ของอากาศ การทดลอง ผลการสังเกตเห็น จับอากาศใส่ถุงพลาสติก ต้มน้ำในบีกเกอร์ เป่าน้ำในแก้ว หย่อนวัตถุชนิดต่างๆ หย่อนดินลงในน้ำ ..........................................

วิเคราะห์และสรุปผลการทดลอง จากการทดลองพบว่าอากาศมีอยู่ทั้งในห้อง นอกห้อง ใต้โต๊ะ ในน้ำในดินและในวัตถุทุกชนิด สรุปได้ว่าอากาศมีสมบัติเป็นแก๊ส สามารถแทรกเข้าไปอยู่ในช่องว่างทุกที่ทุกหนทุกแห่ง

นักเรียนลองคิดดูสิว่า อากาศไม่มีอยู่ในสิ่งใดอีกบ้าง ?????