งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
ประเมินผู้บาดเจ็บ ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ คุณหรือผู้บาดเจ็บได้รับอันตรายหรือไม่ ผู้บาดเจ็บรู้สึกตัวหรือไม่ ทางเดินหายใจเปิดและโล่งหรือไม่ ผู้บาดเจ็บหายใจหรือไม่ จับชีพจรได้หรือไม่ อันตราย ปฏิกิริยาตอบสนอง ทางเดินหายใจ การหายใจ การไหลเวียนเลือด

2 ปฏิบัติตามสิ่งที่ตรวจพบ
ประเมินผู้บาดเจ็บ ปฏิบัติตามสิ่งที่ตรวจพบ ไม่รู้สึกตัว ไม่มีชีพจรหรือไม่หายใจ 1. ขอรถพยาบาล 2. เริ่มต้นช่วยหายใจ สลับกับการกดหน้าอก ไม่รู้สึกตัว ไม่หายใจ แต่ยังมีชีพจร 1. ช่วยหายใจ 10 ครั้ง 2. ขอรถพยาบาล 3. ช่วยหายใจต่อไป ไม่รู้สึกตัว หายใจ และมีชีพจร 1. รักษาการบาดเจ็บที่เป็นอันตรายต่อชีวิต 2. จัดผู้บาดเจ็บอยู่ในท่าพักฟื้น 3. ขอความช่วยเหลือ รู้สึกตัว หายใจ และมีชีพจร 1. รักษาตามความเหมาะสม 2. ขอความช่วยเหลือถ้าจำเป็น

3 ความผิดปกติของการหายใจ
ภาวะที่ทำให้เกิดออกซิเจนในเลือดต่ำ ภาวะ สาเหตุ ออกซิเจนในลมหายใจเข้าไม่เพียงพอ สำลักควันหรือก๊าซ การเปลี่ยนความกดของบรรยากาศ เช่น ในระดับที่สูงหรือในเครื่องบินที่มีความกดอากาศต่ำ ทางเดินหายใจอุดตัน หายใจไม่ออกจากการอุดตันภายนอก เช่น หมอน หรือน้ำ (จมน้ำ) ทางเดินหายใจอุดตันหรือบวม ท่อหลอดลมถูกกด เช่น ถูกแขวนคอ หรือรัดคอ ภาวะที่มีผลต่อผนังหน้าอก ถูกกดทับ เช่น ถูกดินหรือทรายทับ หรือถูกฝูงชนตันหรือล้มทับ การบาดเจ็บของผนังหน้าอกที่มีกระดูกซี่โครงหัก หรือแผลไฟไหม้ที่หดรัด ปอดทำหน้าที่ไม่เต็มที่ การบาดเจ็บของปอด ปอดแฟบ การติดเชื้อของปอด เช่น ปอดบวม สมองหรือประสาทที่ควบคุมการหายใจเสียหาย การบาดเจ็บของศีรษะ ความผิดปกติของหลอดเลือดในสมองที่ทำให้ศูนย์ควบคมการหายใจทำงานไม่ได้ การได้รับสารพิษบางอย่าง เส้นประสาทที่ควบคุมกล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจเป็นอัมพาต เช่น การบาดเจ็บของไขสันหลัง เนื้อเยื่อจับออกซิเจนไม่ได้ พิษก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ พิษจากไซยาไนด์

4 การสูดควัน ผลของการสูดควันที่มีอันตราย ก๊าซ แหล่งที่มา ผลกระทบ ควัน
ไฟไหม้ : ควันจะมีออกซิเจนต่ำจากการเผาไหม้ และอาจจะมีควันพิษอื่น ๆ จากวัสดุที่ถูกเผาไหม้ด้วย ระคายเคืองต่อทางเดินหายใจ ทำให้เกิดการเกร็งตัวและบวม เป็นผลทำให้หายใจเร็ว เสียงดังและลำบาก อาจไอและหายใจเสียงดังคล้ายนกหวีด ไม่รู้สึกตัว มีแผลไหม้รอบปากและจมูก คาร์บอนมอนอกไซด์ ไอเสียจากยานพาหนะ ควันจากไฟไหม้ จากปล่องไฟที่อุดตันและก๊าซเสียจากเครื่องทำความร้อนที่เสื่อมคุณภาพ ถ้าได้รับนาน ๆ อาจทำให้ปวดศีรษะ สับสน ก้าวร้าว คลื่นไส้ อาเจียน และกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ถ้าได้รับพิษทันทีอาจทำให้หายใจเร็ว ลำบาก ตัวเขียว ไม่ค่อยรู้สึกตัว และหมดสติอย่างรวดเร็ว คาร์บอนไดออกไซด์ มีแนวโน้มจะสะสมและเป็นอันตรายมากขึ้นในบริเวณที่ลึกและปิด เช่น ในหลุม บ่อ และถังใต้ดิน หายใจไม่ออก ปวดหัว  มึนงง และจะหมดสติอย่างรวดเร็ว สารระเหย กาวและน้ำยาทำความสะอาด ผู้ที่ติดมักใช้ถุงพลาสติกเก็บไอระเหยไว้ดม ปวดหัว อาเจียน มึนงง ซึ่งจะเปลี่ยนเป็นหมดสติ เสียชีวิตจากหัวใจหยุดเต้น สำลักสิ่งที่อาเจียนออกมาหรือผู้ที่ติดสารระเหยอาจหายใจไม่ออกในถุงพลาสติก น้ำมันเชื้อเพลิง น้ำมันเชื้อเพลิงชนิดเบา ก๊าซหุงต้มที่ใช้โพรเพนเป็นเชื้อเพลิง เมื่อออกจากถัง ก๊าซเหล่านี้จะเย็นมาก ถ้าสูดเข้าไปทำให้หัวใจหยุดเต้นได้


ดาวน์โหลด ppt ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google