Course outline Software Architecture and Design Wattanapong suttapak, Software Engineering, school of Information communication Technology, university of phayao
รหัสและชื่อรายวิชา รหัส 227221 ชื่อวิชาภาษาไทย วิศวกรรมซอฟต์แวร์เชิงวัตถุ ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ (Object-Oriented Software Engineering) จำนวนหน่วยกิต 3(2-2-5)
หลักสูตรและประเภทของรายวิชา หลักสูตร วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ วิชาเอกบังคับ ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2557 ชั้นปีที่ 2
ห้องเรียน เวลาเรียน เวลาสอบ บรรยาย ปฎิบัติการ ห้องเรียน : ICT 1105 เวลาเรียน : พฤหัสบดี 13:00 – 15:00 น. ห้องเรียน : ICT 1105 เวลาเรียน : พฤหัสบดี 15:00 – 17:00 น. ปลายภาค 12 ธันวาคม 8:00 – 11:00 น.
ผู้สอน นายวัฒนพงศ์ สุทธภักดิ์ ห้องพัก ICT1438 office hour : จันทร์ 10:00 – 12:00 : ศุกร์ 13:00 – 16:00 : พฤหัส 10:00 – 12:00
course Description กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์เชิงวัตถุ การวิเคราะห์และ ออกแบบเชิงวัตถุ การค้นหาความต้องการ แนวคิดเชิง นามธรรม แนวคิดเชิงวัตถุ ยูเอ็มแอล แผนภาพยูสเคส แผนภาพคลาส แผนภาพกิจกรรม แผนภาพลาดับ แผนภาพ สถานะ แผนภาพการปฏิสัมพันธ์ กรอบงาน แบบรูปการ ออกแบบ การแปลงฐานข้อมูลสัมพันธ์เชิงวัตถุ หลักการเขียน โปรแกรมเชิงวัตถุ การทดสอบซอฟต์แวร์เชิงวัตถุ การประยุกต์ เทคโนโลยีเชิงวัตถุ หัวข้อทางเทคโนโลยีเชิงวัตถุที่กาลังอยู่ใน ความสนใจ Object-oriented software development processes, object-oriented analysis and design, requirements discovery, abstract thinking, object thinking, UML, use case diagram, class diagram, activity diagram, sequence diagram, state diagram, collaboration diagram, frameworks, design patterns, object relational database mapping, principles of object-oriented programming, object-oriented software testing, application of object-oriented technology, current topics in object-oriented technology
แผนการสอน 1. กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์เชิงวัตถุเสริมด้วยหลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ 9. แผนภาพสถานะ 2. แนวคิดเชิงนามธรรม 10. แผนภาพการปฏิสัมพันธ์ 3. แนวคิดเชิงวัตถุ 11. กรอบงาน 4. ยูเอ็มแอล 12. แบบรูปการออกแบบ 5. แผนภาพยูสเคส 13. การแปลงฐานข้อมูลสัมพันธ์เชิงวัตถุ 6. แผนภาพคลาส 14. การทดสอบซอฟต์แวร์เชิงวัตถุขั้นต้น 7. แผนภาพกิจกรรม 15. หัวข้อทางเทคโนโลยีเชิงวัตถุที่กำลังอยู่ในความสนใจ 8. แผนภาพลำดับ
สัดส่วนของการประเมินผล เกณฑ์คะแนน วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล นำเสนอความต้องการระบบ(รอบแรก) 7(9 ตุลาคม 57) 5% 2. นำเสนอ UML 2 ประเภท 8(16 ตุลาคม 57) 3. นำเสนอระบบที่พัฒนาขึ้น รอบแรก 10(30 ตุลาคม 57) นำเสนอความต้องการระบบ นำเสนอ UML 4 ประเภทและ ER รอบสอง 12(20 พฤศจิกายน 57) 10% 6. นำเสนอระบบที่พัฒนาขึ้น รอบสอง 13(27พฤศจิกายน 57) 7. นำเสนอระบบทั้งหมด 15(11 ธันวาคม 57) 8. สอบปลายภาค 16(16 ธันวาคม 57) 30% 9. การเข้าห้องเรียน การแต่งกาย 1-15 10. ตรวจสอบความก้าวหน้าของโปรเจค 5-14
เกณฑ์คะแนนตัดเกรด คะแนน เกรด >= 80 A >= 75 B+ >= 70 B >= 65 C+ >= 60 C >= 55 D+ >= 50 D < 50 F
หนังสือ สุนทริน วงศ์ศิริกุล และ ชัยวัฒน์ สิทธิกรโอฬารกุล. การพัฒนาโมเดลสำหรับการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุด้วย UML 2.0 , กรุงเทพฯ : ซัคเซส มีเดีย จำกัด. Brett D. McLaughlin, Gary Pollice and David West. Head First Object-Oriented Analysis and Design, United State of America : O’Reilly Media. John W. Satzinger ,Robert B. Jackson and Stephen D.Burd. Object-Oriented Analysis & Design with the Unified Process. Ian Sommerville. Software Engineering seventh Edition. United State of America : Addison Wesley. United State of America : Thomson Course Technology. วัฒนพงศ์ สุทธภักดิ์. หนังสือเรียนรายวิชาการเขียนโปรแกรมบนเว็บไซต์ ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. โครงการบ่ม เพาะและพัฒนาอาชีพเชิงบูรณาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ภายใต้โครงการปฎิรูปหลักสูตรการศึกษา พุทธศักราช 2555
แหล่งอ้างอิง www.google.com www.stackoverflow.com www.java2s.com www.narisa.com www.w3school.com