การกำหนดแผนงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กังวาน ยอดวิศิษฎ์ศักดิ์ R ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กังวาน ยอดวิศิษฎ์ศักดิ์ รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ความหมายของการวางแผน การวางแผนคือ กระบวนการในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม กำหนดเป้าหมาย และแนวทางในการที่จะบรรลุเป้าหมายดังกล่าว การวางแผนวัยเด็ก การวางแผนวัยรุ่น การวางแผนวัยทำงาน การวางแผนวัยเกษียณ
ประโยชน์ของการวางแผน สร้างความชัดเจน (Focus) และคล่องตัว (Flexible) สามารถนำไปสู่การปฏิบัติได้จริง เสริมสร้างการประสานงานระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ภายในองค์การ ซึ่งแผนการดำเนินงานของหน่วยงานนั้นจะนำไปสู่วัตถุประสงค์หลักขององค์การ (Hierarchy of objectives) ทำให้เกิดการควบคุมอย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้เกิดการบริหารเวลาได้ดีขึ้น
สภาพแวดล้อมทางการบริหาร (ภาครัฐ)
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม มีความซับซ้อนมากขึ้น มีพลวัตรสูงขึ้น
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางการบริหาร (ภาครัฐ) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก สภาพแวดล้อมระดับมหภาค การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน
สภาพแวดล้อมระดับมหภาค (Macro-environment) ระหว่างประเทศ การเมือง เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี
การเมือง การเปลี่ยนแปลงนโยบายของผู้บริหารประเทศ การกำหนดนโยบายของผู้บริหารในพื้นที่ การถูกกระแสกดดันจากข้าราชการการเมือง การถูกกระแสกดดันจากองค์กรนานาชาติ ฯลฯ
เศรษฐกิจ สถานการณ์ทางการเงินและเศรษฐกิจของประเทศ สถานการณ์ทางการเงินของประชาชน สถานการณ์ทางการเงินและเศรษฐกิจของประเทศเพื่อนบ้าน สถานการณ์ทางการเงินของนักลงทุน ฯลฯ
สังคม การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับความคาดหวังของประชาชน การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของประชาชน กระแสสังคม ภัยธรรมชาติต่าง ๆ ฯลฯ
เทคโนโลยี ค.ศ. 1900 - 1960 - อุตสาหกรรม ค.ศ. 1960 - 1975 - บริการ ค.ศ. 1900 - 1960 - อุตสาหกรรม ค.ศ. 1960 - 1975 - บริการ ค.ศ. 1975 – 2020 - ข้อมูลข่าวสาร (Information Tech.)
เทคโนโลยี ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับกลาง Automation เทคโนโลยี บุคลากร Automation เทคโนโลยี ผู้บริหารระดับสูง
แบบจำลองการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน
แบบจำลองการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน
สภาพแวดล้อมภายใน ประสิทธิภาพในการทำงาน คุณภาพ นวัตกรรม ความรวดเร็วในการตอบสนองต่อลูกค้า
การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม
ทิศทางในการวางยุทธศาสตร์ SO ST WO WT
TOWS Matrix S W T
ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์และเป้าประสงค์ กลยุทธ์ (ทำอะไร?) เป้าประสงค์ (เพื่ออะไร?)
ความเชื่อมโยงระหว่างกลยุทธ์และตัวชี้วัด เป้าประสงค์ (เพื่ออะไร?) ตัวชี้วัด (วัดอย่างไร?)
ความเชื่อมโยงระหว่างตัวชี้วัดและกิจกรรม/โครงการ เป้าหมาย สภาพปัจจุบัน แผนงาน/โครงการ
ประเภทและลักษณะของเป้าหมายที่ดี เป้าหมายระยะสั้น เป้าหมายระยะกลาง เป้าหมายระยะยาว สำคัญ วัดได้ มีกำหนดเวลาชัดเจน ท้าทายและทำได้
kangwan@tu.ac.th kangwan_thailand@yahoo.com คำถาม ? kangwan@tu.ac.th kangwan_thailand@yahoo.com