ความคาดหวังของเขตสุขภาพต่อการดำเนินงานสุขภาพจิตในพื้นที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
Advertisements

วิสัยทัศน์ องค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี 1.
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
นโยบายการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ภารกิจ(3)ประเด็นหลัก(5)หัวข้อ (19) 1. การตรวจติดตาม นโยบายและปัญหา เร่งด่วนของกระทรวง สาธารณสุข 1. การดำเนินงานเพื่อ.
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
โดย ทันตแพทย์หญิงภารณี ชวาลวุฒิ โรงพยาบาลสวนปรุง
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การขับเคลื่อนเชิงระบบ เพื่อแก้ไขปัญหาฟันผุในเด็ก 0-5 ปี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการดำเนินงานของกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2551
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
กรณีความเสี่ยง DMSc.
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร คุณภาพสู่ระบบบริการสุขภาพ
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
นโยบายด้านบริหาร.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สกลนครโมเดล.
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ทำไมต้องทำ HA ? เพราะทำให้เกิดระบบงานที่ดี
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความคาดหวังของเขตสุขภาพต่อการดำเนินงานสุขภาพจิตในพื้นที่ พ.ญ.ประนอม คำเที่ยง ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 10

แนวทางการทำงานของนายกรัฐมนตรี - ทำทันที - ทำจริง - ทำให้เห็นผลสัมฤทธิ์ - ทำต่อเนื่อง

นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข 3. สร้างเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชากรไทยตลอดช่วงชีวิต 3.1 การกำจัดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพตามกลุ่มวัย กลุ่มทารกในครรภ์และมารดา กลุ่มเด็กปฐมวัยและวัยก่อนเรียน กลุ่มเด็กวัยเรียน กลุ่มวัยรุ่น กลุ่มวัยทำงาน กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้ป่วยในระยะสุดท้าย

นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (ต่อ) 3. สร้างเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชากรไทยตลอดช่วงชีวิต 3.2 โภชนาการและอาหารปลอดภัย เช่น การขจัดปัญหาการใช้ steroid ไม่ถูกต้องในอาหารและยา 3.3 การป้องกันและควบคุมดารบาดเจ็บ โดยเฉพาะช่วงเทศกาลต่าง ๆ 3.4 การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ เช่น การผลักดัน ร่าง พรบ.เยียวยาผู้ประสบภัยจากบริการสาธารณสุข พ.ศ. ...

ความคาดหวังต่องานสุขภาพจิต

ด้านระบบบริการ มี vision เดียวกันกับเขตสุขภาพ บูรณาการงานต่าง ๆ ในระบบ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เน้น “กลุ่มวัย” และ “DHS” พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชที่ต่อเนื่อง มีมาตรฐาน (ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่)

ด้านการพัฒนาบุคลากร วิเคราะห์ Gap และเติมเต็ม Gap ที่พบ คนทำงานต้องมีความรู้ ความสามารถ ด้านการดูแลสุขภาพจิตประชาชน ครอบคลุมทุกพื้นที่ในเขตสุขภาพ เช่น จิตแพทย์ พยาบาลเฉพาะทาง (PG เด็ก และ PG ผู้ใหญ่) (.... ปัญหาปัจุจุบันคือ ขาดคนทำงานที่มีความรู้เฉพาะทาง กรมสุขภาพจิตให้ทุนสนับสนุน แต่ผู้บริหาร พ. ไม่สนับสนุนเท่าที่ควร / คนที่ได้รับการพัฒนาแล้วมีการโยกย้ายหน่วย / ทำงานไม่ตรงกับความสามารถที่มี) ทำจริง ต่อเนื่อง

ด้านการติดตามประเมินผล มีระบบการติดตามเป็นพี่เลี้ยงทางวิชาการ มีระบบการให้การปรึกษาการดำเนินงานกับเครือข่าย สะดวก รวดเร็ว ตอบสนองความต้องการพื้นที่ได้ มีระบบ Data Center ที่รวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพจิตในพื้นที่ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ปัญหาที่พบ ชี้เป้าประเด็นปัญหาในพื้นที่ได้ Feed back ข้อมูล ให้ข้อเสนอแนะแก่พื้นที่ได้

ด้านการสนับสนุนการดำเนินงาน สนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่อย่างเต็มที่ ทันเวลา เช่น สื่อ อุปกรณ์ การเติมเต็มความรู้ ทักษะ (... ปัญหาที่พบตอนนี้ คือ กรมสุขภาพจิตไม่สามารถสนับสนุนอุปกรณ์ในการกระตุ้นพัฒนาการเด็ก ให้ครอบคลุมในทุกพื้นที่ ส่งผลให้เด็กที่มีพัฒนาการช้าในพื้นที่ ไม่ได้รับการกระตุ้นเท่าที่ควร) ให้กำลังใจ

ขอบคุณ ในความใส่ใจ