มาตรฐานตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก ด้านการอาชีวศึกษาในการประเมินรอบสาม ผ่องพรรณ จรัสจินดารัตน์ ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ
บทบาทของสถานศึกษา สถานศึกษาต้องเตรียมการประกันภายในให้ดีที่สุดเน้น ความพร้อมของ - ปัจจัยสนับสนุน (Input) - กระบวนการจัดการศึกษา (Process) - การบริหารและจัดการ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สภาพของการประกันคุณภาพภายใน ปัจจุบัน มาตรฐานที่ 2 หลักสูตรและ การจัดการเรียน การสอน มาตรฐานที่ 3 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มาตรฐานที่ 6 การบริหาร และการจัดการ มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนและ ผู้สำเร็จการศึกษา มาตรฐานที่ 5 นวัตกรรมและ การวิจัย มาตรฐานที่ 4 การบริหารการวิชาชีพ
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม : แนวคิดและทิศทางการอาชีวศึกษา รอบ 1 รอบ 2 รอบ 3 การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม : แนวคิดและทิศทางการอาชีวศึกษา
5.2) มาตรฐานการศึกษาอาชีวศึกษา 6 มาตรฐาน 25 ตัวบ่งชี้ 1. ประกันคุณภาพภายใน (2 ตบช.) 2.คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา (4 ตบช.) 3. การจัดการเรียนการสอน (10 ตบช.) 4. สร้างองค์ความรู้ของอาจารย์และ นักศึกษา (3 ตบช.) 5. บริการวิชาการและวิชาชีพต่อสังคม ชุมชน 6. บริหารและการจัดการ
6.แนวคิดและทิศทางในการประเมินคุณภาพภายนอกในอนาคต 6.2) ให้ประเมินคุณภาพภายนอกจากผลการจัดการศึกษาเป็นหลักตาม มาตรา 51 (Outcome Mapping) โดยให้น้ำหนักร้อยละ 75 ใช้ข้อมูลเฉลี่ยย้อนหลัง 3 ปี 6.3) ให้ประเมินโดยวิธีการและข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพโดย ระบบพิชญพิจารณ์ (Peer Review) สำหรับการประเมินคุณภาพ ภายนอกระดับอุดมศึกษาและอาชีวศึกษา ส่วนสถานศึกษาขั้นพื้นฐานประเมิน โดยผู้ประเมินของบริษัทประเมิน 6.4) ให้ประเมินโดยการยืนยัน SAR (ที่ถูกต้อง เชื่อถือได้) เพื่อกระตุ้น ให้ IQA มีความเข้มแข็งยิ่งขึ้น
6.แนวคิดและทิศทางในการประเมินคุณภาพภายนอกในอนาคต 6.5) ในเชิงกระบวนการ (ร้อยละ 25) ให้ความสำคัญกับคุณภาพครูและ คณาจารย์ คุณภาพและความพร้อมของผู้เรียน การสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ การบริหารจัดการแบบ SBM และการประกันคุณภาพภายใน 6.6) ลดจำนวนตัวบ่งชี้และจำนวนมาตรฐานสำหรับการประเมินคุณภาพ ภายนอก โดยถ่ายโอนตัวบ่งชี้และมาตรฐานเกี่ยวกับปัจจัยนำเข้าและ กระบวนการให้อยู่ในระบบประกันคุณภาพภายใน
6.แนวคิดและทิศทางในการประเมินคุณภาพภายนอกในอนาคต 6.7) กรอบการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษารอบที่ 3 : สถานศึกษาอาชีวศึกษา มาตรฐานการอาชีวศึกษา ภายใน 5 มาตรฐาน 32 ตัวบ่งชี้ กำกับ ดูแลและ ขับเคลื่อน การ ดำเนินงา น (Gover nance) (10%) โดย คณะกรรมก าร วิทยาลัย/ สถาบัน อาชีวศึกษา ผลการจัดการศึกษา (Result) (75%) คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา การวิจัยและนวัตกรรมและการสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน การบริหารจัดการ (Management) (15%) โดยผู้อำนวยการวิทยาลัย/อธิการบดี การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 6 34 มาตรฐานการอาชีวศึกษา ภายนอก 6 มาตรฐาน 25 ตัวบ่งชี้
ร่างมาตรฐานและตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอกด้านอาชีวศึกษารอบสาม
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา (ร้อยละ ๓๐) มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา (ร้อยละ ๓๐) ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาตามเกณฑ์ทีสอบผ่านข้อสอบ O-Net ร้อยละการได้งานทำภายใน ๑ ปี (เฉพาะที่รายงานเข้าฐานข้อมูล สอศ.) ร้อยละการประกอบอาชีพอิสระที่ตรงตามสาขา(เฉพาะที่รายงานเข้าฐานข้อมูล สอศ.) ระดับความพึงพอใจของหน่วยงานหรือสถานประกอบการที่มีต่อผู้สำเร็จการศึกษา
มาตรฐานที่ 2 การจัดการเรียนการสอน (ร้อยละ ๒๕) มาตรฐานที่ 2 การจัดการเรียนการสอน (ร้อยละ ๒๕) อัตราส่วนอาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิทางวิชาชีพและมีใบประกอบวิชาชีพต่อนักศึกษาใน แต่ละประเภทวิชา กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมสมรรถนะวิชาชีพของผู้เรียน กระบวนการพัฒนานักศึกษาด้านคุณธรรม/จริยธรรม/ทักษะทางสังคม ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอนของอาจารย์ที่สำรวจโดย หน่วยงานกลางที่น่าเชื่อถือ
มาตรฐานที่ 3 นวัตกรรมและการสร้างองค์ความรู้ของอาจารย์และนักศึกษา (ร้อยละ ๒๐) จำนวนผลงานทางวิชาการของอาจารย์ที่มีคุณภาพได้รับการยอมรับโดย คณะกรรมการระดับชาติ(หรือได้รับการรับรองจากสำนักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา) จำนวนผลงานทางวิชาชีพของนักศึกษาที่มีคุณภาพได้รับการยอมรับโดย คณะกรรมการระดับชาติ(หรือได้รับการรับรองจากสำนักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา)
มาตรฐานที่ 4 การบริหารและการจัดการ (ร้อยละ ๒๕) มาตรฐานที่ 4 การบริหารและการจัดการ (ร้อยละ ๒๕) การบริหารจัดการที่ดี (Good Governance) ของผู้บริหาร สถานศึกษา ความสามารถของผู้บริหารสถานศึกษาด้านการบริหารจัดการโดยใช้กระบวนการ ประกันคุณภาพในการบริหารงานอย่างต่อเนื่อง กระบวนการจัดสรรและบริหารจัดการทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ กระบวนการพัฒนาครูอาจารย์(และบุคลากร)ที่มีประสิทธิภาพ ความสำเร็จด้านการบริหารจัดการที่ได้รับการยอมรับจากชุมชน สังคม