วิชา หลักการตลาด บทที่ 12 จริยธรรมทางการตลาด และความรับผิดชอบต่อสังคม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ช่วยลูกเตรียมพร้อม... พ.ญ.นัทธ์ชนัน จรัสจรุงเกียรติ
Advertisements

การวางแผนกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาด
Product and Price Management.
กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
รหัส หลักการตลาด.
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
BA2301 หลักการตลาด การสื่อสารทางการตลาด
จากหิ้งสู่ห้าง การใช้ประโยชน์จากงานวิจัยพัฒนา
สื่อเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคที่เป็นอิสระจากโฆษณา
ระบบการบริหารการตลาด
MK201 Principles of Marketing
Business Administration THONBURI UNIVERSITY
MARKETING A.Suchada Hommanee.
บทที่ 6 พฤติกรรมผู้บริโภค.
วิชาชีพและจริยธรรมทางการตลาด
การค้ามนุษย์.
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
บทที่ 1 บทนำว่าด้วยการสื่อสารการตลาด
นางสาวรัชดา สุทธิวรวุฒิกุล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
ภาษาทางสื่อ มิวสิควิดีโอ
บทบาทของประธานกลุ่ม ประธานกลุ่มของสหกรณ์ นับเป็นผู้ที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสหกรณ์ เพราะเป็นผู้อยู่ใกล้ชิดกับสมาชิกในกลุ่ม เป็นผู้รู้ปัญหาและความต้องการของสมาชิกได้เป็นอย่างดี
การปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
พระราชบัญญัติ ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๓๕
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรมธุรกิจ
Chapter 10 จรรยาบรรณของนักธุรกิจ
ส่วนที่1 แนวความคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Good Corporate Governance
เคล็ดลับในการฝึกงาน ให้ประสบความสำเร็จ!!!
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 งานธุรกิจ และการประกอบอาชีพ
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
หนังสือเรียน รายวิชา ขนมไทย วิชา ขนมไทย
การเลือกบรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์
การส่งเสริมพัฒนาการทางสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย
หน่วยที่ 7 จริยธรรมและความปลอดภัย
สื่อโฆษณาเพื่อส่งเสริมการขาย
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
วิชา หลักการตลาด บทที่ 10 การส่งเสริมการขายโดยใช้บุคคล
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
วิชา หน้าที่พลเมืองฯ ม.1
จรรยาบรรณ นางสาวสมลักษณ์ ลวดเงิน พนักงานพัฒนากองทุนหมู่บ้าน
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
วิชาธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ สัปดาห์ที่ 1
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
บทที่ 2 จริยธรรมการวิจัยตลาด
สปอตวิทยุ.
บทที่ 3 ผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
บทบาทของข้อมูลการตลาด
บทที่ 3 กระบวนการวิจัยตลาดและการกำหนดปัญหาการวิจัย
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
นายวิเชียร มีสม วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนที่ 3 สอนโดย นายวิเชียร มีสม 1 เรื่อง สุขภาพผู้บริโภค เรื่อง.
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR)
ความเสมอภาคทางเพศ.
การเขียนบทโฆษณา และการผลิตภาพยนตร์โฆษณา
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
บทที่ 9 ช่องทางการจัดจำหน่ายและการตั้งราคา
ความสำคัญและประโยชน์ ของการวิจัยการตลาด
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
วิชา หลักการตลาด บทที่ 9 การจัดการโซ่อุปทานและโลจีสติกส์
หน้าที่ทางการตลาด Marketing Function
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
บทที่ 3 การจัดการตราผลิตภัณฑ์ คุณค่าของตรา และตำแหน่งผลิตภัณฑ์
บทที่ 7 การส่งเสริมการขาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชา หลักการตลาด บทที่ 12 จริยธรรมทางการตลาด และความรับผิดชอบต่อสังคม คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา อ.จิรญา โพธิเวชเทวัญ

บทที่ 12 จริยธรรมทางการตลาดและความรับผิดชอบ ต่อสังคม บทที่ 12 จริยธรรมทางการตลาดและความรับผิดชอบ ต่อสังคม จริยธรรม หมายถึง “การประพฤติปฏิบัติที่ถูกต้อง ดีงาม พูดดี คิดดี และงดเว้นการกระทำที่สังคมไม่ปรารถนา” “ความถูกต้องในการปฏิบัติ และคุณค่าทางศีลธรรม” “ความรู้สึกถึงสิ่งดีงาม ความซื่อสัตย์สุจริตที่และคนมีเป็นหลักประกันประจำของตนเอง หรือกลุ่มอย่างถูกต้องเป็นธรรม ไม่คดโกง ไม่หลอกลวง”

พฤติกรรมด้านการตลาด 1.ความรับผิดชอบ 2.มีความซื่อสัตย์และมีความยุติธรรม 3.สิทธิและหน้าที่ของกลุ่มที่เกี่ยวข้อง ผู้ที่มีส่วนร่วม 4.ความสัมพันธ์กับองค์กร นักการตลาดควรตระหนักว่าพฤติกรรมของบุคคลอื่นในองค์กรจะต้องไม่สนับสนุนการไม่มีจริยธรรม

ตัวอย่างปัญหาด้านจริยธรรมในการตลาด 1.ปัญหาจริยธรรมจากผลิตภัณฑ์ การเสนอขายสินค้าที่มีคุณภาพต่ำไม่สมราคา เช่น ขายข้าวหมอมะลิที่ปนข้าวอื่นมาก การใช้วัตถุปรุงแต่งสินค้าที่มีอันตราย เช่น สี รส หรือสารเคมี การใช้ชื่อที่ทำให้เกิดการเข้าใจผิด เช่น ผงชูรส เปลี่ยนเป็น โมโนโซเดียมกลูตาเมต ทำให้เข้าใจว่าไม่ใช่ผงชูรส

2.ปัญหาจริยธรรมจากการกำหนดราคา การตั้งราคาที่หลอกลวงให้เกิดการเข้าใจผิด เช่น การจัดรายการนาทีทอง การกำหนดค่าบริการที่ไม่เป็นธรรมของกิจการสาธารณูปโภคของรัฐบาล เช่น น้ำประปา ไฟฟ้า โทรศัพท์

3.ปัญหาจริยธรรมจากวิธีการจัดจำหน่าย การจำหน่ายเหล้า เบียร์ บุหรี่ ให้แก่เด็กวัยรุ่น การเสนอขายโดยแคตตาล็อก หรือทางโทรศัพท์ ที่ให้ภาพไม่ตรงกับความจริงเสมอ การขโมยข่าวสารจากเครื่องมือสื่อสารต่างๆ ของธุรกิจกับธุรกิจ

4.ปัญหาจริยธรรมจากการส่งเสริมการตลาด การโฆษณาชักชวนให้เด็ก ๆ เรียกร้องให้พ่อแม่ซื้อ เช่น ขนมขบเคี้ยว การทำประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างภาพพจน์ที่ดีขององค์กร ได้ก่อให้เกิดการหลงเข้าใจผิด เช่น ผู้ขายเบียร์ โฆษณาการอนุรักษ์น้ำ ส่งเสริมบทบาทของครอบครัวพร้อมๆ กับการเสนอขายสินค้าของตน การจัดรายการชิงโชคต่างๆ เป็นการฉวยโอกาสจากความโลภ ต้องการรวยของผู้บริโภค