คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
ความน่าจะเป็น Probability.
ค่าแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ค่าการกระจาย ค่ามาตรฐาน
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
5.2 การวัดตำแหน่งของข้อมูล
นายรังสฤษดิ์ตั้งคณารหัส นายวสันต์ชานุชิตรหัส
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
LAB 1 ให้นักศึกษาเขียน Flowchart โดยใช้โปรแกรม Microsoft Word วาดรูป Flowchart ส่ง Flowchart ที่วาดเสร็จแล้วในชั่วโมง และ print ใส่กระดาษ ส่งในครั้งหน้า.
บทที่2 การแจกแจงความถี่ (Frequency Distributions)
ม. ค.57 เปรียบเทียบ ม. ค.56 ปี 56 เกิด 3 จับ 3 ราย (100.00%) ปี 57 เกิด 3 จับ 2 ราย ( % ) คดีเท่ากัน ผลการจับกุมบรรลุเป้า ( เป้า %)
ผู้จัดทำ 1.นายกิตติพงศ์ ทีภูเวียง เลขที่ 1
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
เอกสารประกอบการสอน อาจารย์ดร.ศุกรี อยู่สุข
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
1 2 ตามลักษณะ เศรษฐกิจ งบประมา ณ ตาม พ. ร. บ. ( ล้าน บาท ) ได้รับ จัดสรร ( ล้าน บาท ) เบิกจ่าย ร้อย ละ / งบ จัดสร ร สำนัก ชลประทานที่ 13 1,164,64 0,305.
เป้าเบิกจ่าย งบรวม เป้าเบิกจ่าย งบลงทุน งบรวม เบิกจ่าย.
การให้ระดับคะแนน (ตัดเกรด) ด้วย T Score
การประเมินผลผลลัพธ์การดำเนินงาน ที่สำคัญ ( พ. ศ. ๒๕๕๓ ) ๑. ความพึงพอใจของประชาชนต่อคุณภาพ การให้บริการของหน่วยงานระดับ Front Office ( ๓. ๑. ๑. ๑ ) ๒. ความพึงพอใจของประชาชนต่อการ.
Office of information technology
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
สำนักวิชาการและแผนงาน
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
การแจกแจงปกติ.
การหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลัง
ดัชนี. Th ai CI MyMy MLSVPh BRBR 4. สัดส่วน ระหว่าง แรงงาน ฝีมือ และไร้ ฝีมือ 16 % (20 06) 26 % (20 07) 80 % (20 09) % (20 07) %
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ณ โรงแรมมารวยการ์เด็น ธันวาคม 2555
แบบรูปรายการก่อสร้าง สำหรับปีงบประมาณ 2558
ขั้นตอนการจัดนักศึกษาเข้าสังกัดสาขาวิชา
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
การประชุม ผู้ปกครองนักเรียน ชั้น ม.1 ปีการศึกษา 2557
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
การค้นในปริภูมิสถานะ
การประชุม ผู้ปกครองนักเรียน ชั้น ม.2 ปีการศึกษา 2557
กราฟเบื้องต้น.
ครูปพิชญา คนยืน. สถิติ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 7 ครูปพิชญา คนยืน จากฮิสโทแกรม แสดงค่าใช้จ่าย ต่อเดือนของ นักเรียน จงตอบคำถาม ต่อไปนี้
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
จัดทำโดย จรัสศรี ดอนชัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
ผังงาน (Flow chart).
การวัดและประเมินผล.
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนที่ 7
ครูปพิชญา คนยืน. สถิติ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 7 ครูปพิชญา คนยืน จงสร้างตารางแจก แจงความถี่ของ ข้อมูลต่อไปนี้ โดย กำหนดให้มี 5 ชั้น และหาขอบล่าง, ขอบบน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สถิติ

การนำเสนอข้อมูลในรูปตารางแจกแจงความถี่

ตารางแจกแจงความถี่เป็นวิธีการทางสถิติในการจัดแบบข้อมูลเป็นกลุ่มๆ เป็นหมวดวิชาหรือชั้นปี เพื่อให้เป็นระเบียบ

อ่านและแปลความหมายได้ง่าย ชัดเจน และสะดวกในการนำไปวิเคราะห์ และสรุปผล อ่านและแปลความหมายได้ง่าย ชัดเจน และสะดวกในการนำไปวิเคราะห์ และสรุปผล

ความถี่ หมายถึง จำนวนครั้งของข้อมูลที่เกิดขึ้นหรือปรากฏขึ้น เช่น ข้อมูลส่วนสูงของนักศึกษา

ที่มีส่วนสูง 159 เซนติเมตร มีอยู่ 8 คนจึงเรียกได้ว่านักศึกษาที่มีส่วนสูง 159 เซนติเมตร มีความถี่เท่ากับ 8

การสร้างตารางแจกแจงความถี่ มี 2 วิธี ดังนี้ การสร้างตารางแจกแจงความถี่ มี 2 วิธี ดังนี้ วิธีที่1. แจกแจงความถี่ของข้อมูลเฉพาะตัวเลขหรือคะแนนแต่ละตัว ซึ่งวิธีนี้จะใช้กับข้อมูลที่มีจำนวนไม่มากนัก

ตัวอย่าง จากการสำรวจข้อมูล ส่วนสูงของนักศึกษาในสถานศึกษาแห่งหนึ่ง จำนวน 50 คนได้ข้อมูลดังนี้

159 162 158 160 161 157 161 160 159 161 160 156 161 159 161 160 158 156 160 161 158 161 160 163 159 161 160 161 160 159 163 159 161 160 161 162 157 160 158 161 157 160 159 161 158 160 161 159 161 160

นำข้อมูลจากการสำรวจส่วนสูงข้างต้นมาสร้างตารางแจกแจงความถี่ แบบที่1 ได้ดังตาราง

จำนวนนักศึกษาหรือความถี่ ส่วนสูง (ซม) รอยคะแนน จำนวนนักศึกษาหรือความถี่ 156 157 158 159 // 2 /// 3 //// 5 //// /// 8

160 161 162 163 รวม 50 //// //// /// 13 //// //// //// 15 2 // // 2

วิธีที่ 2. แจกแจงความถี่ข้อมูลเป็นช่วงคะแนน(อันตรภาคชั้น) วิธีนี้ใช้กับข้อมูลจากการสำรวจที่มีจำนวนมาก จึงต้องกำหนดเป็นช่วงคะแนน(อันตรภาคชั้น)

ขั้นตอนของการแจกแจงความถี่ของข้อมูลเป็นช่วงคะแนน 1. หาคะแนนต่ำสุดและคะแนนสูงสุดจากข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้ที่กำหนดให้

2. หาค่าพิสัย(คำนวณจากคะแนน สูงสุด – คะแนนต่ำสุด) 3.กำหนดอันตรภาคชั้น(ความกว้างของข้อมูล)นิยมใช้ความกว้าง 5 หรือ10 หรือ 100 หรือ 1,000 ตามลักษณะข้อมูล

คำนวณจากนำค่าพิสัยหารจำนวนชั้นที่ต้องการ 4. ทำตารางเขียนอันตรภาคชั้นเรียงลำดับ มาก-น้อย หรือ น้อย-มาก

5. ลงข้อมูลหรือขีดรอยคะแนนแสดงจำนวนข้อมูลที่ปรากฏ 6. รวมค่าความถี่ของข้อมูลทุกอันตรภาคชั้น ผลลัพธ์เท่ากับจำนวนข้อมูลทั้งหมด

7.หาค่าขอบบนและขอบล่างของอันตรภาคชั้นในแต่ละชั้น 8. หาจุดกึ่งกลางชั้นได้จากสูตร จุดกึ่งกลางชั้น =ขอบล่าง+ขอบบน 2

ตัวอย่าง จากการสำรวจข้อมูลน้ำหนักของนักศึกษาในสถานศึกษาแห่งหนึ่งจำนวน 45 คน ได้ข้อมูลดังนี้

54 56 52 44 48 58 61 73 70 52 50 56 78 65 61 62 49 50 48 47 75 80 55 53 57 51 49 45 50 52 59 63 68 51 64 48 55 60 71 49 63 53 60 57 54

ให้นักเรียนสร้างตารางแจกแจงความถี่ให้มีความกว้างของอันตรภาคชั้นเป็น 5 ได้ดังนี้

พบกันใหม่วันพรุ่งนี้ เรื่อง สถิติ (ต่อ)