อธิบายหลักการทำงาน บทบาท และประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Advertisements

3. วิธีทำให้ข้อมูลเป็นสารสนเทศมีกี่วิธีอะไรบ้าง
เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ โดย เด็กหญิงนฤมล พรมม่วง เลขที่ 29 ชั้น ม.2/2
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ใบความรู้ 3 ระบบคอมพิวเตอร์.
เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS )
การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
โรงเรียนวัดสิตาราม สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์.
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
นาย ชัยสิทธิ์ การะเกตุม.4/4 เลขที่ 30
การเลือกซื้อสเปคคอม จัดทำโดย นาย ธนวัฒน์ แซ่ลิ้ม ม.4/2 เลขที่ 25
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หน่วยความจำ (Memory Unit)
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
? คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ คือ อะไรนะ ?
เรื่อง การทำงานของคอมพิวเตอร์ สาระวิชา คอมพิวเตอร์ ช่วงชั้นที่ ๑
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำงานและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจำ Central Processing Unit and Memory
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์ทำงานอย่างไร
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หน่วยบันทึกข้อมูลของคอมพิวเตอร์ ครูสุวรรณ์ พิมเสน ครู คศ
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
คอมพิวเตอร์.
ส่วนประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
ผู้จัดทำ นางสาว สุทธิดา แสงอุไร มัธยมศึกษาปีที่ 4/2 เลขที่ 27.
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
SPECK COMPUTER จัดทำโดย นางสาวแพรไหม หลวงสิงห์ไชย.
การทำงานของคอมพิวเตอร์
HARDWA RE อุปกรณ์หรือ ชิ้นส่วน ที่ประกอบเป็น คอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
นาย กตัญญู ใจอารีย์ นาย ณัฐพงศ์ สองทอง ระบบคอมพิวเตอร์
เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์
สร้างสรรค์โดย เด็กชายทวีลาภ สุวัฒนพันธุ์กุล Taweelap Suwattanapunkul เด็กชายทวีลาภ สุวัฒนพันธุ์กุล Taweelap Suwattanapunkul.
หน้าที่และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
“หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์"
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
โรงเรียนสายมิตรเทคโนโคราช
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
วิชา การปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หลักในการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสม
หน่วยรับเข้า ทำหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจำหลัก ปัจจุบันมีสื่อต่าง ๆ ให้เลือกใช้ได้มากมาย แบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ 1.แป้นพิมพ์ (Keyboard) 2.เมาส์
จัดทำโดย เด็กหญิง พัทธนันท์ ริบแจ่ม เลขที่ 7 มัธยมศึกษาชั้นปีที่ 4/5 เสนอ อาจารย์ สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ. ลำพูน.
Integrated Network Card
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
จัดทำโดย นาย สุเมธ สุขพิทักษ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อธิบายหลักการทำงาน บทบาท และประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ ตัวชี้วัดที่ 1 อธิบายหลักการทำงาน บทบาท และประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

การทำงานของคอมพิวเตอร์ การทำงานของคอมพิวเตอร์(จอห์น วอน นอยแมน) ประกอบด้วยหน่วยสำคัญ 5 หน่วย ได้แก่  1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) 2. หน่วยความจำหลัก (Primary Storage Unit) 3. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit :CPU) 4. หน่วยความจำรอง (Secondary Storage Unit) 5. หน่วยส่งออก (Output Unit)

1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) ทำหน้าที่รับข้อมูลเข้ามาเก็บไว้ในหน่วยความจำแล้วนำมาประมวลผลหรือ เก็บไว้ในหน่วยความจำรองอุปกรณ์รับเข้าที่ใช้กันเป็นส่วนใหญ่คือ แผงแป้นอักขระ (keyboard) และเมาส์ (mouse)

2. หน่วยความจำหลัก (Primary Storage Unit) เป็นหน่วยสำหรับเก็บข้อมูลและซอฟต์แวร์ ที่ใช้ในการประมวลผลซึ่ง หน่วยประมวลผลกลางสามารถอ่านเขียนจากหน่วยความจำหลักรวดเร็วมาก ทำให้ หน่วยประมวลผลกลางนำมาตีความและกระทำตามได้อย่างรวดเร็ว ประเภทหน่วยความจำหลัก : (1) แรม (Random Access Memory : RAM) เป็น หน่วยความจำ ที่เก็บข้อมูล สำหรับใช้งาน ทั่วไป การอ้างอิง ตำแหน่ง ที่อยู่ของ ข้อมูลใดๆ เพื่อการเขียน และการอ่าน จะกระทำ แบบการ เข้าถึง โดยสุ่ม คือ เรียกไป ที่ตำแหน่งที่อยู่ ข้อมูลใดก็ได้ หน่วยความจำนี้ เรียกว่า แรม หน่วยความจำ ประเภทนี้ จะเก็บข้อมูล ไว้ตราบเท่าที่ กระแสไฟฟ้า จ่าย ให้วงจร หาก ไฟฟ้าดับ เมื่อไรข้อมูล ก็จะสูญหาย ทันที

2. หน่วยความจำหลัก (Primary Storage Unit) (ต่อ) (2) รอม (Read Only Memory : ROM) เป็น หน่วยความจำ อีกประเภทหนึ่ง ที่มีการ อ้างอิงตำแหน่ง ที่อยู่ข้อมูล แบบเข้าถึง โดยสุ่ม หน่วยความจำ ประเภทนี้ มีไว้ เพื่อบรรจุ โปรแกรม สำคัญบางอย่าง เพื่อว่า เมื่อ เปิดเครื่องมา ซีพียู จะเริ่มต้น ทำงาน ได้ทันที ข้อมูล หรือโปรแกรม ที่เก็บไว้ใน รอม จะถูกบันทึก มาก่อนแล้ว ผู้ใช้ไม่สามารถ เขียนข้อมูลใดๆ ลงไปได้ แต่สามารถ อ่านข้อมูล ได้อย่างเดียว ข้อมูลหรือ โปรแกรม ที่อยู่ใน รอมนี้จะ อยู่อย่างถาวร แม้จะ ปิดเครื่อง ข้อมูล หรือโปรแกรม ก็จะไม่ถูกลบไป ใน ไมโครคอมพิวเตอร์ แต่ละเครื่อง อาจมีขนาดของ หน่วยความจำหลัก ได้ แตกต่าง กันตาม แต่ความต้องการ ปัจจุบัน เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ มีหน่วยความจำ ที่มีความจุมากขึ้น เพื่อให้ สามารถบรรจุ โปรแกรม ขนาดใหญ่ได้

3. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit :CPU) ทำหน้าที่ในการคิดคำนวณหรือประมวลผลข้อมูล โดยทำตามโปรแกรมที่ เก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก วิวัฒนาการของหน่วยประมวลผล : ตัวอย่างเช่น (1) ไมโครโพรเซสเซอร์ 8086 (2) ไมโครโพรเซสเซอร์ 80286 (3) ไมโครโพรเซสเซอร์ 80386 (4) ไมโครโพรเซสเซอร์ 80486 (5) ไมโครโพรเซสเซอร์เพนเตียม ฯลฯ

4. หน่วยความจำรอง (Secondary Storage Unit) มีไว้สำหรับเก็บข้อมูลหรือซอฟต์แวร์ที่มีจำนวนมาก และต้องการนำมาใช้ อีกในภายหลัง หากจะใช้งานก็มีการโอนถ่ายจากหน่วยความจำรองมายัง หน่วยความจำหลัก อุปกรณ์ในหน่วยหน่วยความจำรอง : ตัวอย่างเช่น (1) แผ่นบันทึก (floppy disk หรือ diskette) (2) ฮาร์ดดิสก์ (hard disk) (3) เทปแม่เหล็ก (tape) (4) แผ่นซีดี (CD-ROM) ฯลฯ

5. หน่วยส่งออก (Output Unit) เป็นหน่วยที่นำข้อมูลที่ได้รับการประมวลผลแล้วมาแสดงผล หรือเก็บไว้ ในหน่วยความจำรอง

แผนผังการทำงานของคอมพิวเตอร์