End of life care ช่วงสุดท้ายของชีวิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
นาวาโท สมบูรณ์ เจิมสุจริต E.T.NURSE
พยาบาลเปรมจิตร คล้ายเพ็ชร์ งานการพยาบาลศัลยศาสตร์ฯ
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
จริยธรรมองค์กร.
กรณีตัวอย่าง: การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care)
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
25/07/2006.
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
การพัฒนาเครือข่ายในระบบบริการ สาธารณสุขให้มีการพัฒนาระบบ บริการสุขภาพจิตและจิตเวช สำหรับ รพศ. รพท. รพช. รพสต. พรประไพ แขกเต้า งานสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
คณะทำงานกลุ่มที่ 1 ลำปาง เชียงราย อุตรดิตย์ ลำพูน พะเยา
อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
สรุปการประชุม เขต 10.
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
การขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน
ชื่อโครงการ.
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
คู่มือการดูแลทางจิตเวช เพื่อป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย
นโยบายด้านบริหาร.
สรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อคุ้มครอง
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
กรอบการพัฒนาตัวชี้วัด
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
สรุปผลงานโดยย่อ ทีมสหวิชาชีพ เป็นองค์รวม มีส่วนร่วม
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
การพัฒนาระบบบริการทุติยภูมิและปฐมภูมิ
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง

กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
SAR2011 ข้อ III 4.3 ฉ : การฟื้นฟูสภาพ
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการประเมินตนเอง 4.3 ช. การดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
เพลินพิศ เยาว์พรหมสิริ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การดูแลผู้ป่วยระยะยาว
การพยาบาลเฉพาะทาง สาขา การพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร็ง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

End of life care ช่วงสุดท้ายของชีวิต การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย End of life care ช่วงสุดท้ายของชีวิต

การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย

Palliative care การดูแลแบบประคับประคอง การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย Palliative care การดูแลแบบประคับประคอง Concept 4 C 1.Customer focus 2.Comprehensive (Holistic) 3.Coordinated 4.Continuous

การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย Palliative care หมายถึง แนวทางปฏิบัติในการดูแลแบบประคับประคอง ที่มุ่งให้ผู้ป่วยมีความสุขสบาย โดยให้ความสำคัญต่อศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ไม่พยายามเร่งรัดหรือเหนี่ยวรั้งการตาย พัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและญาติเพื่อเผชิญกับปัญหา อันเกี่ยวเนื่องกับความเจ็บป่วยที่คุกคามชีวิต ผ่านกระบวนการป้องกันและบรรเทาความทุกข์ทรมาน โดยใช้การตรวจพบแต่เนิ่นๆ การประเมินและการรักษาอาการเจ็บป่วยครอบคลุมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคมและจิตวิญญาณ

การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย Palliative care สมรรถนะ หลักสูตร BCCPN สำหรับพยาบาล 1 เดือนครึ่ง จำนวน 1 คน อบรมหลักสูตร Palliative care สำหรับพยาบาล 3 วัน จำนวน 1 คน หลักสูตร Palliative สำหรับพยาบาล 2 วัน จำนวน 9 คน แพทย์ และเภสัช ยังไม่ผ่านการอบรม

การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย Palliative care กลุ่มเป้าหมาย ผู้ป่วยโรคมะเร็งระยะลุกลาม ผู้ป่วยระยะลุกลามจากโรคอื่นๆ ที่แพทย์วินิจฉัยแล้วว่ารักษาไม่ได้ ผู้สูงอายุหรือผู้ป่วยโรคเรื้อรังชนิดต่างๆที่ต้องการการดูแลรักษาแบบประคับประคองเช่น ผู้ป่วยกลุ่มสมองเสื่อม

ขั้นตอนการดำเนินงาน Palliative care การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย ขั้นตอนการดำเนินงาน Palliative care รับใบ consult Palliative care nurse review ประวัติใน chart บันทึกใน Intake Formให้ครบถ้วน ประเมินผู้ป่วยและครอบครัวบันทึก ใน Intake Form (แบบรายงานผู้ป่วย ) ติดต่อประสานงานกับแพทย์เพื่อบริหารยา ส่งต่อข้อมูลในการประเมินผู้ป่วยและครอบครัวใน Progress note

ขั้นตอนการดำเนินงานPalliative care การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย ขั้นตอนการดำเนินงานPalliative care ตรวจเยี่ยมผู้ป่วย ทุกวันจนกว่าผู้ป่วยจำหน่ายกลับบ้าน กรณีที่ Case มีปัญหาซับซ้อนหรือครอบครัว ยังได้รับข้อมูลไม่ครบถ้วน มี conflict ในครอบครัววางแผนร่วมกันทำ Family Meeting ประสานทีมสหสาขาวิชาชีพเพื่อให้การช่วยเหลือ ประสานเครือข่ายโรงพยาบาลชุมชนกรณีผู้ป่วยกลับบ้าน และประสานส่งต่อข้อมูลทางโทรศัพท์ ติดตามให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์ต่อเนื่องจนกว่าจะเสียชีวิต ให้การดูแลเพื่อให้พ้นระยะเศร้าโศกจากการสูญเสีย

Familly meeting

สอนญาติในการป้อนอาหารก่อนกลับบ้าน

ทำพิธีสังฆทานที่หอผู้ป่วย

ทำพิธีขอขมาผู้ป่วย

การให้ยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง

การให้ยาเข้าชั้นใต้ผิวหนังที่บ้าน

การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย ผลการดำเนินงาน ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2555 2556 1.ความพึงพอใจ >80% 85 87 2. อัตราการปฏิเสธ CPR 100% 3. อัตราการได้รับการดูแลแบบประคับประคอง 80% 70 72 4. อัตราการได้รับยาแก้ปวดและได้รับการติดตามเยี่ยม 32 4.6

การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย โอกาสพัฒนา จัดทำ WI เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการดูแลผู้ป่วย Palliative care ให้เป็นไปในแนวทางเดียวกันทั้ง โรงพยาบาลและเครือข่าย จัดประชุมเชิงปฏิบัติการทั้งเครือข่ายจังหวัดบึงกาฬ Before I die

Before I die

Before I die

Before I die

Before I die

Before I die

Before I die

Before I die

Before I die

Before I die ฉันปราถนาอยากให้ โรงพยาบาลบึงกาฬ ………………

การจัดการความเจ็บปวด Pain Management

การจัดการความเจ็บปวด Pain Management LR มีCQI การใช้แบบประเมินความเจ็บปวด VAS วัดระดับ Score 0-10 ในปี 2550 - ระดับ 0-4 Seft care - ระดับ 5-7 ลุกเดินยืน/ญาตินวด/ฝึกหายใจ - ระดับ 8-10 Mental support/ Notify

การจัดการความเจ็บปวด Pain Management ศัลยกรรม มีCQI โดยใช้ Face scaleในปี2553 ระดับ0 = ไม่ปวด ระดับ1-2=ปวดเล็กน้อย ระดับ3-4=ปวดปานกลาง ระดับ5-6=ปวดมาก ระดับ7-8=ปวดมากๆ ระดับ9-10=มากที่สุดๆๆๆ ระดับ1-3 ดูแลจัดท่านอน ระดับ4-6ให้ยาparacet.,Tramal ระดับ7-10 รายงานแพทย์ให้ยาMO,Pethidine

การจัดการความเจ็บปวด Pain Management

การจัดการความเจ็บปวด Pain Management

การจัดการความเจ็บปวด Pain Management โอกาสพัฒนา ปรับปรุงWI ใช้ทั้งโรงพยาบาล NN ใช้ผลPSบันทึกในข้อมูล สนับสนุนObjective Data

THANK YOU