แนวคิดและพฤติกรรมนักท่องเที่ยว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
Advertisements

“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
ยินดีต้อน เข้าสู่ โครงงาน.
แอร์กับการคำนวณ... “ คุณรู้หรือไม่เครื่องปรับอากาศที่คุณใช้ในแต่ละวันนั้นสร้างปัญหาให้กับโลกและสิ่งมีชีวิต บนโลกอย่างไรบ้าง”
โลกร้อนกับการอนุรักษ์พลังงาน
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
โรงเรียนฝางวิทยายน เขต 1
สถานที่ท่องเที่ยวในแต่ละจังหวัด
ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ต่อการมาท่องเที่ยวประเทศไทย
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
Destination Branding at Ban Sam Chong
นำเสนอหนังสือวิชาการ
การท่องเที่ยวเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต Tourism For life-Quality Development อ.วันทกาญจน์ สีมาโรฤทธิ์
ศรีสุทธา ปัตทวีคงคา 02 ฤดีพร พรหมพล 34 สมร การะเกษ 35
บทที่ 5 นโยบายต่างประเทศ
ปัญหาความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ผู้สอน อ.ดร.อิศรัฏฐ์ รินไธสง
Competency Phatthalung Provincial Center for Skill Development.
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล พ. ศ
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
การศึกษาความเป็นไปได้ FEASIBILITY STUDY
1. ชื่อผู้ประกอบการร้านอาหาร นายอาคม เชื้อบุญมี ที่ตั้งเลขที่ 74 หมู่ที่ 3 ถนน เลย - ด่านซ้าย หมู่บ้านบ้านเดิ่น ตำบลด่านซ้าย อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย.
การเรียนรู้แบบโครงการ บูรณาการกระบวนการกลุ่ม
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
สภาพทางเศรษฐกิจ ใน ยุโรป.
กรมการท่องเที่ยว กระทรวงการ ท่องเที่ยวและกีฬา สรุปสถานการณ์นักท่องเที่ยว เดือน กรกฏาคม ปี 2556 วันที่ 26 สิงหาคม ปี 2556.
ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัดตราด
จังหวัดจันทบุรี นายมณเฑียร สุขผลรหัสนิสิต คณะสาธารณสุขศาสตร์
ลาว วิรันดา สุนทรภักดี คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขานิเทศศิลป์
ทะเลแหวก แห่งอันดามัน
นางสาว ภูริชญา สมบัติยานุชิต เลขประจำตัวนิสิต :
จัดทำโดย นางสาวปฑันทิญา จินดาเสวก คณะสาธารณสุขศาสตร์ กลุ่ม 10
นำเสนอ อาจารย์วิชัย บุญเจือ จัดทำโดย นางสาวสาวิณี เจิมขุนทด
ตราด.
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดภูเก็ต
สถานที่ท่องเที่ยวในชลบุรี
สถานที่ท่องเที่ยว จ.ระยอง
สัตหีบ SATTAHIP CHONBURI.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
รายงานขั้นสุดท้าย โครงการศึกษาสถานการณ์และแนวโน้มด้านการตลาด สำหรับนักท่องเที่ยวกลุ่ม Hoenymoon & Wedding.
วิธีการฝึกอบรม ลูกเสือสามัญ
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แนวคิดและพฤติกรรมนักท่องเที่ยว
Thailand Destination Image. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยดำเนินการ ส่งเสริมท่องเที่ยวด้วยภาพลักษณ์ในเชิง นามธรรมที่มุ่งเน้นเรื่อง Thailand : Land of Smile.
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แหล่งท่องเที่ยวไทย.
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
สถานที่ท่องเที่ยวที่ชอบ
แผนงานป้องกันและลดผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลง สภาวะภูมิอากาศ โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรอุทยาน แห่งชาติทางทะเล ( กิจกรรมจัดการแนวปะการังและชายหาด )
สถานที่น่าสนใจใน 10 ประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด. ญ
สถานการณ์โรคที่สำคัญ ในเขตบริการสุขภาพที่ 11
LOGO ประชุมประธาน กลุ่ม ประชุมประธาน กลุ่ม วันที่ 23 พ. ค
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูผู้สอน... นายธีระพล เข่งวา เรื่อง : สถานการณ์ด้าน สิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในภูมิภาคต่างๆของ โลก ( ๑ )
แผนธุรกิจ (Business Plan)
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
หน่วยที่ 3 การจัดทำรายงานการประเมิน
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
เด็กหญิง อนัญญา สุ ทะพรหมพิงค์ เลขที่ 38 ชั้นมัธยมปีที่ 2/12.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัมนธรรม ส43102
ภาวะโลกร้อน.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการศึกษาสถานการณ์และแนวโน้มด้านการตลาด สำหรับการท่องเที่ยวกลุ่มดำน้ำ

แนวคิดและพฤติกรรมนักท่องเที่ยว แนวคิดและพฤติกรรมนักท่องเที่ยว  นักท่องเที่ยวกลุ่มดำน้ำไม่ว่าจะเป็นในกลุ่มคนไทยหรือชาวต่างชาติ จะรู้จักและมีความสนใจที่จะไปดำน้ำในจุดดำน้ำที่คล้ายคลึงกัน นักท่องเที่ยวกลุ่มดำน้ำชาวต่างชาติโดยส่วนใหญ่รู้จักและเคยไป แหล่ง/จุดดำน้ำด้านอันดามันมากกว่าด้านอ่าวไทย และเมื่อถาม นักท่องเที่ยวกลุ่มนี้ว่าเคยไปดำน้ำที่ใดบ้างในแต่ละฝั่ง ของประเทศไทย

ผลปรากฏว่า ฝั่งอันดามัน: นักท่องเที่ยวเคย ไปดำน้ำที่ภูเก็ตมากที่สุด (67.5%) รองลงมาได้แก่ เกาะพี พีและหมู่เกาะสิมิลัน โดยมี จำนวนเท่ากับ 34.3% และ 29.3% ตามลำดับ

ผลปรากฏว่า ฝั่งอ่าวไทย: นักท่องเที่ยวเคยไปดำน้ำที่ พัทยามากที่สุด (39.3%) รองลงมาได้แก่ เกาะสมุยและเกาะช้าง โดยมีจำนวนเท่ากับ 37.0% และ 30.5% ตามลำดับ

แนวคิดและพฤติกรรมนักท่องเที่ยว(ต่อ) นักท่องเที่ยวกลุ่มดำน้ำจะใช้เวลาอยู่ในประเทศไทยประมาณ 8 – 10 วัน แต่จะใช้เวลาในการดำน้ำน้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 วัน เป็นส่วนใหญ่ โดยเวลาที่เหลือจะใช้ในการพักร่างกายและทำ กิจกรรมเสริมอื่นๆ กับคนที่มาด้วย ซึ่งนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้จะไม่มา คนเดียวแต่จะมากับเพื่อน (38.8%) หรือกับคู่สมรสและบุตร (23.0%) เป็นหลัก

เมื่อกล่าวถึงแหล่งข้อมูลที่นักท่องเที่ยวกลุ่มดำน้ำใช้ในการค้นหา ข้อมูลเกี่ยวกับการดำน้ำ พบว่าอินเตอร์เน็ตเป็นช่องทางที่ถูกใช้มากที่สุดถึง 95.5% ตามมาด้วยนิตยสารที่ 7.8% โดยส่วนใหญ่จะ ค้นหาข้อมูลผ่าน 2 ช่องทางจากอินเตอร์เน็ต ได้แก่ การค้นหาข้อมูลจากเว็บไซต์โดยตรง และการใช้ search engine ในการค้นหา

โดยข้อมูลที่นักท่องเที่ยวกลุ่มดำน้ำส่วนใหญ่ต้องการทราบเมื่อหา ข้อมูลเกี่ยวกับการท่องเที่ยวดำน้ำสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท หลัก คือ ประเด็นที่เกี่ยวกับการดำน้ำโดยตรง เช่น อุณหูมิอากาศ อุณหภูมิน้ำ กระแสน้ำ แหล่งดำน้ำใหม่ๆ แหล่งดำน้ำที่มีในประเทศ เป็นต้น และประเด็นที่เกี่ยวกับการดำน้ำทางอ้อม เช่น อัตรา แลกเปลี่ยน สถานการณ์ทางการเมือง เป็นต้น

การจำแนกประเภทนักท่องเที่ยว ในการศึกษาโครงการฯครั้งนี้ ได้มีการกำหนดกลุ่มเป้าหมายใน การศึกษาเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ ผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจท่องเที่ยวดำน้ำ นักท่องเที่ยวต่างประเทศกลุ่มดำน้ำ

ผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจท่องเที่ยวดำน้ำ ผู้ประกอบธุรกิจท่องเที่ยวดำน้ำที่มีกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย เป็นนักท่องเที่ยวกลุ่มดำน้ำชาวต่างประเทศ ทั้งในรูปแบบ การท่องเที่ยวดำน้ำแบบวันเดียว และแบบนอนบนเรือ รวมถึงโรงเรียนสอนดำน้ำและธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องอื่นๆ

นักท่องเที่ยวต่างประเทศกลุ่มดำน้ำ นักท่องเที่ยวเดินทางมาประเทศไทย เพื่อการทำกิจกรรมท่องเที่ยว ประเภทดำน้ำลึก โดยสามารถแบ่งกลุ่มเป้าหมายเป็น 4 กลุ่มหลักดังนี้ ภูมิภาคยุโรป ประกอบด้วย สแกนดิเนเวีย อังกฤษ เยอรมนี รัสเซีย ภูมิภาคเอเชีย ประกอบด้วย ญี่ปุ่น ฮ่องกง ไต้หวัน จีน ภูมิภาคอเมริกา ประกอบด้วย สหรัฐอเมริกา ภูมิภาคโอเชเนีย ประกอบด้วย ออสเตรเลีย

ปัจจัยที่นักท่องเที่ยวกลุ่มดำน้ำให้ความสำคัญที่สุดต่อการเลือกประเทศในการดำน้ำมีดังนี้ ความสวยงามของภูมิทัศน์ใต้ทะเล 15.5% ความเป็นมืออาชีพของ Dive master 10.0% ทัศนวิสัยใต้ทะเล 9.3% ความสวยงามของสิ่งมีชีวิตใต้ทะเล 9.3% อุณหภูมิของน้ำทะเล 8.8%

ในสายตาของนักท่องเที่ยวกลุ่มดำน้ำในประเทศไทยมีจุดเด่นใน 5 ประเด็นหลักดังนี้ อุณหภูมิของน้ำทะเล 26.8% ความสวยงามของภูมิทัศน์ใต้ทะเล 25.3% ความสวยงามของแนวปะการังและปะการังใต้ทะเล 24.5% ความปลอดภัยในการดำน้ำ 24.0% ความสะอาดใต้ทะเล 19.5%

แนวโน้มในนักท่องเที่ยวกลับมาเที่ยวในประเทศไทยในอนาคต โดยผลการศึกษาที่ได้พบว่า นักท่องเที่ยวกลุ่มดำน้ำจำนวน 86.5% จะกลับมาดำน้ำที่ ประเทศไทยอีกในอนาคต นักท่องเที่ยวกลุ่มดำน้ำจำนวน 7.8% จะไม่กลับมาดำน้ำที่ ประเทศไทยอีกในอนาคต นักท่องเที่ยวกลุ่มดำน้ำจำนวน 5.8% ยังไม่ได้ตัดสินใจ

เหตุผลที่นักท่องเที่ยวกลุ่มดำน้ำจะกลับมาดำน้ำที่ประเทศไทยอีกในอนาคต ความสวยงามของธรรมชาติรอบแหล่งดำน้ำ 22.0% ความหลากหลายของแหล่งดำน้ำ 21.0% ความสวยงามของทรัพยากรใต้ทะเล 14.8% ความสมบูรณ์ของสัตว์ใต้ทะเล 11.0% อุณหภูมิน้ำทะเล 9.8%