การจัดการระบบยา เพื่อ ความปลอดภัย บันไดขั้น 2 สู่ ขั้น 3.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Medication reconciliation
Advertisements

การดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ 3 ธ.ค.55
แนวทางการส่งเสริมความปลอดภัยด้านยาระดับจังหวัด
ต้นทุนค่ายา วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
Risk Management JVKK.
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา
กลุ่ม 2 กำหนดมาตรฐานยา รพ.ทบ..
ในโรงพยาบาลค่ายสุรนารี
II – 2.1 การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing)
ภก. ปรมินทร์ วีระอนันตวัฒน์
ผลการประเมินการดำเนินงาน 46
โดย นายแพทย์สุชัย อนันตวณิชกิจ
Medication reconciliation
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
การนำร้านยาคุณภาพเข้าร่วมพัฒนาคุณภาพบริการ ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า
กลุ่มตรวจสอบ ติดตาม ด้านยา วัตถุเสพติด และ เครื่องมือแพทย์ ( ตส.1 ) สำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข.
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
25/07/2006.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
สรุปการประชุม เขต 10.
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และกฎหมาย
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
แนวทางการบริหารกองทุน ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2552
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ทีมนำด้านการดูแลผู้ป่วย
การรายงาน ADR/ การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
คณะกรรมการเภสัชกรรม และการบำบัด
การปรับตัว ของธุรกิจขายยา
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
การประเมินการใช้ยา ( Drug Use Evaluation,DUE )
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
คณะกรรมการพัฒนาคุณห้องปฏิบัติการ เขตบริการสุขภาพที่ 5
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
มุมมอง ผู้เยี่ยมสำรวจ fulltime
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
รพ. สระใคร อ. สระใคร จ. หนองคาย
เทคนิคการจัดการ ความคลาดเคลื่อนทางยาในเครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง
สรุปผลงาน ปีงบประมาณ 2552 ( ตุลาคม กันยายน 2552 )
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
Pharmacist‘s role in Warfarin Team
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำการ ตรวจทางรังสีวิทยา 2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอตรวจ 3. ความเหมาะสมของการส่ง ตรวจทางรังสีวิทยา 4. การควบคุมคุณภาพของการ.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
6. การทำงานเป็นทีมระหว่างสาขา วิชาชีพ 1. การคัดกรองจำแนกประเภทผู้ป่วย ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่อาจถูกคัดกรอง ผิดพลาด 2. การระบุตัวผู้ป่วยในกรณีต้อง เคลื่อนย้ายผู้ป่วย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการระบบยา เพื่อ ความปลอดภัย บันไดขั้น 2 สู่ ขั้น 3

เป้าหมาย ถูกต้อง ปลอดภัย เหมาะสม ในการใช้ยาของผู้ป่วย ลดความคลาดเคลื่อน (error) และ อาการไม่พึงประสงค์ (adverse event) จากการใช้ยา

Implementation : ระบบบริหารจัดการ ฝ่ายเภสัชกรรม ทีม/คณะกรรมการที่รับผิดชอบระบบยา แพทย์ พยาบาล เภสัชกร

ระบบบริหารจัดการ ฝ่ายเภสัชกรรม ตามมาตรฐานวิชาชีพเภสัชกรรมโรงพยาบาล (วิเคราะห์และการวางแผน) ทีมพัฒนาและหน่วยงาน พัฒนาตามมาตรฐานวิชาชีพ พัฒนาตามเป้าหมายและหน่วยงาน ร่วมพัฒนาในระบบยาของโรงพยาบาล ระบบบริหารจัดการ

ทีม/คณะกรรมการที่รับผิดชอบระบบยา คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด บทบาท - Policy maker - Policy monitoring เรียนรู้พัฒนาระหว่างวิชาชีพ เป้าหมาย

นโยบาย / ระบบงาน 1. ระบบกระจายยา : ผู้ป่วยใน เป้าหมาย รูปแบบ - 3 days dose - daily dose - package การควบคุมความคลาดเคลื่อนในการถ่ายทอดคำสั่งใช้ยา - จัด / จ่ายยา บริหารยา - ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูลยาที่ถ่ายทอด - Low tech /High tech

ระบบการจ่ายยาผู้ป่วยใน (ต่อ) การตรวจสอบข้อมูลข้ามระหว่างหน่วยงาน การกำหนดนโยบาย / มาตรการเสริม การสั่งหยุดใช้ยา การคืนยา Review medication การใช้ข้อมูลยาที่ Update

2. ระบบการจ่ายยา : ผู้ป่วยนอก เป้าหมาย ให้ถ่ายทอดคำสั่งจากแพทย์โดยตรง (direct) หรือมีระบบจัดการกรณี repeat medicatio จัดระบบคัดกรองใบสั่งยาโดยเภสัชกรตั้งแต่จุดเริ่มต้น

3. ระบบความคลาดเคลื่อนทางยา (ME) เป้าหมาย ความคลอบคลุม ประเภท / นิยาม Prescribing Predispensing Dispensing Administration ระบบเฝ้าระวัง (ดักจับ) เชิงปริมาณ / คุณภาพ แนวทางค้นหา เชิงรับ / เชิงรุก

ระบบความคลาดเคลื่อนทางยา (ต่อ) การวิเคราะห์ข้อมูลความคลาดเคลื่อน (Data analysis) - ราย case - Trend / เชื่อมโยง ภาพรวม  เกิดซ้ำ  รุนแรง (A – I)  เวลา  หน่วยงาน

ระบบความคลาดเคลื่อนทางยา (ต่อ) การวิเคราะห์สาเหตุ / แก้ปัญหา (RCA) เชิงนามธรรม / รูปธรรม ราย Case ภาพรวม ไตรมาส แนวโน้ม (Trend) การเปลื่ยนแปลงสาเหตุ

ระบบความเคลื่อนทางยา (ต่อ) การกำหนดขอบเขตการแก้ปัญหา RCA ระดับ E ขึ้นไป ระดับ A/B แต่อาจเป็น G/H/I ได้ การเชื่อมโยงกับระบบ RM , PCT

การจัดวางระบบให้ครอบคลุม 4. ระบบป้องกันอันตรายจากยาที่ต้อง ระมัดระวังสูง (High alert drugs, HAD) เป้าหมาย การกำหนดรายการยา รายการยาร่วม รายการแต่ละสาขา การจัดวางระบบให้ครอบคลุม จัดซื้อจัดหา / เก็บรักษา สั่งใช้ / จัดจ่าย บริหารยา / ติดตามการใช้

ระบบป้องกันอันตรายจากยาที่ต้องระมัดระวังสูง (ต่อ) ระบบป้องกันอันตรายจากยาที่ต้องระมัดระวังสูง (ต่อ) การกำหนดคู่มือแนวทางปฏิบัติ ประเด็นอันตรายที่ต้องระวัง เกณฑ์ในการประเมิน /รายงาน แพทย์มีส่วนร่วม การนำสู่การปฏิบัติ

5. ระบบ Adverse drug reaction (ADR) เป้าหมาย การจัดวางระบบ Spontaneous reporting system Intensive monitoring

ระบบ ADR (ต่อ) การประเมินการบรรลุเป้าหมาย การจัดระบบให้เอื้อ เฝ้าระวัง / รายงาน ประเมิน ป้องกันการเกิดซ้ำ การประเมินการบรรลุเป้าหมาย

6. ระบบบริการยาเคมีบำบัด เป้าหมาย การจัดระบบรองรับ ตามบริบท < 20 dose / เดือน > 20 dose / เดือน > 100 dose / เดือน

ระบบบริการยาเคมีบำบัด (ต่อ) การจัดระบบ สั่งใช้ Pre-print / Protocol เตรียมยา บริหารยา การติดตามการใช้ยา การจัดการกับปัญหา spill kit extravasations

7. ระบบสำรองยา เป้าหมาย การจัดระบบสำรอง ตามบริบท รพช. / รพท. / รพศ. Stat dose ยาเสพติดให้โทษ / ยาทางวิสัญญี เกณฑ์สำรอง การจัดระบบตรวจสอบ /นิเทศ

Fatal drug interaction 8. ระบบอื่นๆ Fatal drug interaction เป้าหมาย เกณฑ์คัดเลือกคู่ยา Major Fatal Documentation Onset การจัดระบบรองรับ ตบมือ 2 ข้าง เชิงนโยบาย

ระบบอื่นๆ (ต่อ) Extemporaneous preparations เป้าหมาย การกำหนดรายการ PCT การกำหนดระบบบริการ - ใน / นอกเวลา - สูตรตำรับ / รูปแบบที่เหมาะสม

ระบบอื่นๆ (ต่อ) Drug Reconciliation เป้าหมาย การจัดวางระบบรองรับ จุดเริ่มต้น การเชื่อมโยงระบบ