การสร้างเสริมสมรรถนะการบริหารจัดการระบบสุขภาพระดับอำเภอ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
Advertisements

การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS)
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
สร้างสุขในเยาวชนและครอบครัว ป้องกันปัญหาตั้งครรภ์ในเยาวชน
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
“ การส่งเสริมโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยสุขภาพดี ”
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดจันทบุรี
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
HPC 11 กรอบแนวทางการดำเนินงาน นโยบายกรมอนามัย ศูนย์อนามัยที่ 11 ปีงบประมาณ 2553 กลุ่มยุทธศาสตร์ 31 กค. 52.
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ประชาชน ภาคี กระบวนการ รากฐาน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
การดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น
การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA)
การขับเคลื่อนเชิงระบบ เพื่อแก้ไขปัญหาฟันผุในเด็ก 0-5 ปี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบบูรณาการ สู่
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายด้านบริหาร.
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เขตบริการสุขภาพนครชัยบุรินทร์ ประจำปี 2558
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
Pass:
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
โครงการ “ อนามัยเจริญพันธุ์ดี มีสุข วัยรุ่นเลย :
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
กรอบประเด็น คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
Service plan สาขาทารกแรกเกิด จ.เลย
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสร้างเสริมสมรรถนะการบริหารจัดการระบบสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System Management Learning : DHML) อำเภอป่าติ้ว โจทย์ Module 2 การวิเคราะห์สถานการณ์ Module 1 เป้าหมายและวิสัยทัศน์โดยรวม Module 3 ปัญหาสุขภาพ

การวิเคราะห์สภาพปัญหา 1.ปัญหาสาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว สาเหตุการป่วย 1.MCH = LBW ANC PNC 2.NCD = DM/HT 3.CD = DHF การวิเคราะห์สภาพปัญหา สาเหตุการตาย สาเหตุการตาย อันดับ 1 โรคมะเร็ง ได้ร่วมกับวาระคนยโสธร ต้านมะเร็งท่อน้ำดี KPI การบริการ -PCA -HA

การจัดลำดับความสำคัญ เป็นข้อสรุปจากทุกตำบล -ขนาด -ความรุนแรง -ความยากง่ายของการแก้ปัญหา -การมีส่วนร่วมของชุมชน*** เป็นข้อสรุปจากทุกตำบล (ผ่าน รพ./รพ.สต.) DHS/DHML

การสร้างเสริมสมรรถนะการบริหารจัดการระบบสุขภาพระดับอำเภอ โครงการ ODOP การส่งเสริม ป้องกัน และแก้ไขปัญหา MCH ปี 2556-2557 การสร้างเสริมสมรรถนะการบริหารจัดการระบบสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System Management Learning : DHML) KPI แม่อายุต่ำกว่า 20 ปีคลอดไม่เกิน ร้อยละ 10 KPI อัตราวัยรุ่นตั้งครรภ์ไม่เกิน 50 ต่อพันpopวัยรุ่น DHML

กลุ่มเสี่ยง โรงเรียนมัธยม/รร.ขยายโอกาส/การศึกษานอกระบบ วัยรุ่น 14-19 ปี 5,373 คน (หญิง 2,698 คน) RCA ร้านอาหาร/คาราโอเกะ 12 ร้าน

โครงการป้องกัน แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร เครือข่ายสุขภาพ อ.ป่าติ้ว จ.ยโสธร ความเครียด/ภาวะซึมเศร้า ฝากครรภ์ครบคุณภาพ ทารก แรกเกิด นน.น้อย Teenage Pregnancy พัฒนาการเด็กก่อน-หลังคลอด การเรียน การทำแท้ง คุณภาพชีวิตของแม่และเด็ก ฐานการพัฒนา คือคุณภาพของคน

ปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร (Teenage Pregnancy) ปัญหายุ่งยากซับซ้อน (Complex) แก้เชิงระบบ สร้างความร่วมมือในการแก้ปัญหา ดำเนินหลายๆเรื่อง/กิจกรรมพร้อมกัน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติอย่างมีส่วนร่วม (Participatory Interactive Learning through Action : PILA

กลวิธีดำเนินการ 3.1 จัดสร้างระบบข้อมูลเพื่อส่งเสริมให้เกิดช่อง ทางการเผยแพร่และตอบสนองจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง MOdule1 : เป้าหมายและวิสัยทัศน์โดยรวม(Overall Interactions) MOdule2 : การวิเคราะห์สถานการณ์ (Situation analysis) MOdule3 : ปัญหาสุขภาพ (Health problems) Module 9 : การบริหารจัดการระบบข้อมูลสุขภาพ (Management Health Information System)

กลวิธีดำเนินการ 3.2 จัดเวทีนำเสนอข้อมูล/การศึกษาดูงาน เพื่อให้เกิด กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างหน่วยงาน/ภาคี/ภาคส่วน ที่เกี่ยวข้อง Module 8 :การมีส่วนร่วมของชุมชนและการสร้างการมีส่วนร่วมกับภาคส่วนต่างๆ (Community Participation and Intersect oral Collaboration )

กลวิธีดำเนินการ 3.3 จัดทำบันทึกข้อตกลง/พันธะกิจร่วมกัน โดย การบูรณาการแผนงาน/โครงการร่วมกัน Module 5 : คุณลักษณะของผู้บริหารจัดการ และเครื่องมือบริหารจัดการระบบสุขภาพอำเภอ(Essential Managers and Introduction to District Health system Management tools ) Module 6 : วงจรการวางแผนและการบริหารจัดการ(Planning and Management cycles )

กลวิธีดำเนินการ 3.4 การดำเนินการตามแผนงาน/โครงการ การตรวจเยี่ยม/ติดตามประเมินผล Module 4 : หลักการของการจัดระบบบริการสุขภาพ(Principles of Health service Organization ) และระบบบริการสุขภาพอำเภอ (District Health service system Module 11 : การประเมินผล (Evaluation)

กลวิธีดำเนินการ 3.5 จัดเวทีนำเสนอผลงานภาพรวมเครือข่าย Module 9 : การบริหารจัดการระบบข้อมูลสุขภาพ (Management Health Information system)

กลวิธีดำเนินการ 3.6 การสรุปผลการดำเนินงานแจ้งภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง MOdule9 : การบริหารจัดการระบบข้อมูลสุขภาพ (Management Health Information system) ที่ว่าการ อปท. อสม. DHS (CUP) ผู้นำชุมชน ส่วนราชการ โรงเรียน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างพื้นที่ ของภาคี เครือข่ายและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง 2. เกิดแนวทาง/ข้อตกลงในการดำเนินงานตามบริบทพื้นที่ อำเภอป่าติ้ว 3. อัตรามารดามีบุตรคนแรกอายุต่ำกว่า 20 ปี ลดลง (ผลพลอยได้)

การบูรณาการเครือข่าย ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหา วัยเรียนและวัยรุ่น 1.โรงเรียนผานเกณฑมาตรฐานในโรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับเพชร

โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร KPIs = 19 ตัว KPI ที่ 8 นักเรียนมีความรู้และทักษะอนามัยทางเพศ กิจกรรมโครงการ -stop teen mom -มุม teen mom -เชิญวิทยากรภายนอกมาให้ความรู้ -รุ่นพี่ Teen Mom แชร์ประสบการณ์ -ทีม อย.น้อยให้ความรู้เสียงตามสาย -จับคู่ Buddy รุ่นพี่-น้อง -ประสานพัฒนาสังคม(หน่วย 44) ให้ความรู้เด็ก -สนับสนุนงบประมาณ 2.จัดการเรียนการสอนในรายวิชา วิชาสุขศึกษา/เพศศึกษา 3.บูรณาการกับรายวิชาอื่น เช่น วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา 4.พัฒนาผู้เรียนเจาะจงเฉพาะวิชาเพศศึกษา ติดตามและประเมินผล