กรอบการพัฒนาตัวชี้วัด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
Research Mapping.
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
Service Profile บริการ/ทีม: โรงพยาบาล วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
จะต้องผ่านเกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่กำหนดไว้ทั้ง 4 ข้อ
หมวด7 15 คำถาม.
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
ระบบอันพึงประสงค์และการจัดบริการ อาชีวอนามัยในสถานีอนามัย
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
HA 2011 overall scoring และการนำไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพรพ.
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การบูรณาการงาน HIV CARE สู่งานพัฒนาคุณภาพ
25/07/2006.
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ระบบHomeward& Rehabilation center
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
สรุปการประชุม เขต 10.
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
แนวทางการบริหารกองทุน ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2552
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
สรุปผลงานโดยย่อ ทีมสหวิชาชีพ เป็นองค์รวม มีส่วนร่วม
การวางแผนยุทธศาสตร์.
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน มีนาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
คปสอ.เลิงนกทา เป็นองค์กรบริหารด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใส
1. การ ดำเนินตามระเบียบงานสาร บรรณที่เกี่ยวข้อง 2. ความสามารถ ดำเนินการด้านสาร บรรณตามเวลาที่กำหนด 3. มีระบบ ป้องกันการสูญหายของ เอกสาร 4. การเผยแพร่ขั้นตอนในการ.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนพฤศจิกายน.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรอบการพัฒนาตัวชี้วัด สำนักการพยาบาล

กรอบการพัฒนาตัวชี้วัด The Outcome Model for Health care Research เป็นการกำหนดตัวชี้วัดคุณภาพในทุกมิติที่เป็นปัจจัยเกี่ยวข้องที่จะก่อให้เกิด ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ : Holezemer (1994)

มิติที่มีผลต่อผลลัพธ์ มิติผู้ใช้บริการ (Client) มิติผู้ให้บริการ (Provider) + แนวคิดเชิงโครงสร้าง มิติองค์กร (Setting)

ตารางแสดงความสัมพันธ์ Input Process Outcome Client Provider Setting

มิติผู้ใช้บริการ Input Process Outcome ข้อมูลพื้นฐานต่างๆของผู้ใช้บริการ กิจกรรมหรือกระบวนการในการดำเนินชีวิต การป้องกันความเจ็บป่วย การดูแลตนเอง ผลลัพธ์สุดท้ายของการบริการ

มิติผู้ให้บริการ Input Process Outcome คุณลักษณะของผู้ให้บริการ รูปแบบการปฏิบัติงาน ขั้นตอนการดูแล / การให้บริการ ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับผู้ให้บริการที่ส่งผลถึงผลลัพธ์ของงาน

มิติองค์กร Input Process Outcome ปัจจัยการนำเข้าขององค์กร กระบวนการบริหารจัดการภายในองค์กร ผลลัพธ์ของการดำเนินการองค์กร ผลลัพธ์ของการใช้ทรัพยากร / ปัจจัยนำเข้า ในภายรวมขององค์กร

ตัวชี้วัดคุณภาพการพยาบาล : โรงพยาบาล ตัวชี้วัดคุณภาพการพยาบาล : โรงพยาบาล มี 10 ตัวชี้วัด 1. การผสมผสานอัตรากำลัง 2. จำนวนชั่วโมงการพยาบาลต่อผู้ป่วยนอนในโรงพยาบาล 3. ความพึงพอใจในการทำงานของบุคลากรพยาบาล 4. อัตราการเกิดแผนกดทับในโรงพยาบาล 5. อัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาล

ตัวชี้วัดคุณภาพการพยาบาล : โรงพยาบาล (ต่อ) ตัวชี้วัดคุณภาพการพยาบาล : โรงพยาบาล (ต่อ) มี 10 ตัวชี้วัด 6. ประสิทธิภาพการเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล 7. อัตราการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะจากการคาสายสวนปัสสาวะ 8. อัตราการกลับเข้ารับการรักษาซ้ำในโรงพยาบาลภายใน 28 วันโดย ไม่ได้วางแผน 9. ระดับความพึงพอใจของผู้ป่วย 10. ระยะเวลาวันนอนเฉลี่ยของผู้ป่วยในโรงพยาบาล

ตารางแสดงความสัมพันธ์ตัวชี้วัดในโรงพยาบาล Input Process Outcome Client Provider Setting 4 , 5 , 8 , 9 6 , 7 7 1 3 2 , 5 , 10

ตัวชี้วัดคุณภาพการพยาบาล : ในชุมชน ตัวชี้วัดคุณภาพการพยาบาล : ในชุมชน มี 11 ตัวชี้วัด 1. อัตราส่วนพยาบาลวิชาชีพต่อบุคลากรสุขภาพอื่น 2. อัตราส่วนพยาบาลวิชาชีพต่อประชาชน 3. ความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ 4. ชั่วโมงการเยี่ยมบ้าน 5. ความครอบคลุมของการประเมินภาวะสุขภาพประชาชน 6. ภาวะสุขภาพครอบครัวในชุมชน

ตัวชี้วัดคุณภาพการพยาบาล : ในชุมชน (ต่อ) ตัวชี้วัดคุณภาพการพยาบาล : ในชุมชน (ต่อ) มี 11 ตัวชี้วัด 7. คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเรื้อรัง 8. ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการในชุมชน 9. การเกิดแผนกดทับของผู้ป่วยที่บ้าน 10. การลดปัจจัยเสี่ยงในชุมชน 11. การพลัดตกหกล้มของผู้ป่วยที่บ้าน

ตารางแสดงความสัมพันธ์ตัวชี้วัดในชุมชน Input Process Outcome Client Provider Setting 7 ,8 , 9 , 11 6 1 , 2 5 ,9 ,10 ,11 3 1 , 2 3 4

ค่าตัวชี้วัด (ต่อ) อัตราส่วน (Ratio) ข้อมูลที่แสดงความสัมพันธ์ เปรียบเทียบ ระหว่างจำนวนของเลขกลุ่มหนึ่ง กับ จำนวนของเลขอีกกลุ่มหนึ่ง ซึ่งอยู่ในเหตุการณ์เดียวกันหรือเกี่ยวข้องกัน อัตรา (Rate) อัตราส่วนระหว่างเลขจำนวนหนึ่งกับเลขอีกจำนวนหนึ่งภายใต้ระยะเวลา/เหตุการณ์เดียวกันเป็นตัวตั้ง หารด้วยจำนวนประชากรทั้งหมดที่เกี่ยวข้องในช่วงนั้น แล้วปรับฐานให้เป็น 100 /1,000/10,000/100,000

ค่าตัวชี้วัด (ต่อ) สัดส่วน (Proportion) ข้อมูลที่แสดงความสัมพันธ์ เปรียบเทียบ ระหว่างจำนวนของเลขกลุ่มหนึ่ง กับ จำนวนของเลขอีกกลุ่มหนึ่ง โดยที่จำนวนเลขกลุ่มแรกนั้นเป็นส่วนหนึ่งหรือรวมอยู่ในจำนวนของเลขกลุ่มหลังด้วย

ตัวเลขที่แสดงถึงจำนวนสิ่งของหนึ่งๆ ค่าตัวชี้วัด (ต่อ) จำนวน (Number) ตัวเลขที่แสดงถึงจำนวนสิ่งของหนึ่งๆ

การเก็บตัวชี้วัดในชุมชน