การวิเคราะห์ประเด็น ปัญหาการเฝ้าระวังใน พื้นที่ นายมนัสพร ภมรบุตร นักพัฒนาสังคมชำนาญการ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์จังหวัดเชียงใหม่
กลไกการดำเนินงานเฝ้าระวังและ เตือนภัยทางสังคม ข้อมูลเชิง วิจัย ข้อมูลอปท. ๑ ข้อมูลจาก สมัชชา ข้อมูลผู้ ประสบ ปัญหา สังคมใน พื้นที่ การ วิเคราะห์ และ จัดลำดับ ความสำคัญ ของปัญหา ในจังหวัด แผน ยุทธศาสตร์ การพัฒนา สังคมและ ความมั่นคง ของมนุษย์ จังหวัด สร้างเครือข่าย เฝ้าระวังปัญหา ในชุมชน การ ประชาสัมพันธ์ สร้างความ ตระหนัก บูรณาการความ ร่วมมือกับ หน่วยงาน ผลักดันเข้าสู่ แผนหรือวาระ ของจังหวัด ประเด็น สนใจ
ความสำคัญของการวิเคราะห์ ประเด็นปัญหาในพื้นที่ 1. ศึกษาข้อมูลเชิงลึกที่เป็นปัญหาเฉพาะของ พื้นที่ เพื่อค้นหาสาเหตุของปัญหาที่ชัดเจน สามารถแก้ไขปัญหาตรงจุด 2. ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานจัดทำและทบทวนแผน ยุทธศาสตร์ทุกระดับของหน่วยงาน และเลือก พื้นที่ในการดำเนินงานภายใต้งบฯที่จำกัด 3. สร้างความยอมรับและความร่วมมือจากผู้บริหาร และระหว่างหน่วยงานจากการทำงานร่วมกัน 4. เป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินงานตามมาตรฐาน ของ พมจ. ในเรื่องของงานวิจัย ๒ ปี ๑ เรื่อง
กลไกการขับเคลื่อน ปฐมภูมิทุติภูมิ รายงาน สถานการณ์ฯ และการจัดลำดับ ความสำคัญของ ปัญหา สรุปประเด็นเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาที่มี ความรุนแรงในจังหวัด ออกแบบระเบียบวิธีวิจัย / หาแหล่งงบประมาณ / ลง พื้นที่จัดเก็บข้อมูล
แหล่งที่มาของข้อมูล ปฐม ภูมิ อปท๑เฝ้าระวัง ข้อมูลผู้ประสบ ปัญหาสังคม ข้อมูลจาก สมัชชาต่าง ๆ ทุติย ภูมิ ข้อมูลจาก หน่วยงานอื่น ข้อมูลงานวิจัยที่ จัดทำไว้แล้ว เหตุการณ์สำคัญ ข้อมูลความ มั่นคงของ มนุษย์
รูปแบบการ จัดลำดับ ความสำคัญของ ปัญหา ใช้ข้อมูล อปท. ๑ เป็นหลัก ใช้ข้อมูลหลายชุด ประกอบ กัน ( เลือกเฉพาะที่ จัดได้ ) แยกและจัดลำดับ แต่ละข้อมูล แล้ว นำมาเฉลี่ย ให้คณะกรรมการจัด พิจารณาเหตุการณ์ ร่วม สถานการณ์ในพื้นที่ ส่วนร่วมของ หน่วยงาน
แหล่งที่มาขอ งบประมาณ ไม่ใช้งบประมาณ งบปกติของสำนักงานฯ พมจ. เช่น งาน อพม. งบพัฒนาจังหวัด / กลุ่มจังหวัด งบประมาณจาก สกว. หรือ วช. ในพื้นที่ งบประมาณจากกองทุนต่าง ๆ เช่น กสจ.