Symbol & Instance.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Funny with Action Script
Advertisements

การใส่ลูกเล่นให้กับงานนำเสนอ
แบบทดสอบวิชาคอมพิวเตอร์
เปลี่ยนสี และรูปแบบของตัวหนังสือ และจุดเชื่อมโยง
Microsoft Office PowerPoint 2003
ตัวอย่างโปรแกรม สร้างแถบเครื่องมืออย่างง่าย ประกอบด้วย
Microsoft PowerPoint.
….E-Book สนุกสนาน…..
วิชาสื่อ ประสม ง แบบทดสอบกลางภาค
การแทรกหัวข้อย่อยและเลขลำดับ
เรื่อง การประยุกต์ใช้ : โปสการ์ด/กรอบรูป
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
การวาดและการทำงานกับวัตถุ
การใช้งาน Microsoft PowerPoint
Project Management.
By…Porta Boonyatearana
Microsoft Word XP โดย พิสมัย น้ำจันทร์.
การแทรกรูปภาพ การนํารูปภาพจากแฟมขอมูลอื่น
ระบบอัตโนมัติและการพิมพ์
การสร้างตาราง Click mouse ที่ปุ่ม จะปรากฏช่องสี่เหลี่ยมแสดง
การกำหนด Section การใส่ Section Break ก็คือการกำหนดให้เอกสารแบ่งออกเป็นแต่ละ Section ดังนั้น คุณจึงสามารถกำหนดรูปแบบการจัดวางข้อความในแต่ละ Section ให้แตกต่างกัน.
ตัวอย่างขั้นตอนในการสืบค้นข้อมูล
1. แจ้งหน่วยงานให้ทราบวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ครั้งที่ 1/2555
การใช้งาน Microsoft Excel
บทที่ 5 การแทรกรูปภาพ และอักษรประดิษฐ์
บทที่ 7 การกำหนดการนำเสนอ และเชื่อมโยงสไลด์
การสร้างภาพเคลื่อนไหว
โปรแกรมกราฟิก illustrator cs3
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
การใช้งาน Microsoft Windows XP
โปรแกรม DeskTopAuthor
รายงาน เรื่อง -ส่วนประกอบที่สำคัญของ microsoft excel -การพิมพ์ข้อมูลและการสร้างสูตรเบื้องต้น จัดทำโดย.
การใส่ภาพลงบน Work Sheet...
การใช้งาน access เบื้องต้น
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
วาดภาพสวยด้วย Paint.
บทที่ 8 การใส่ลูกเล่นในการนำเสนอ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ระบบปฏิบัติการวินโดวส์เบื้องต้น
การเพิ่มสไลด์แบบกราฟ Chart
จุดประสงค์การเรียนรู้
การรักษาความปลอดภัยของเอกสาร
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
รูปจักกับซิมโบลและอินสแตนซ์ รูปจักกับซิมโบลและอินสแตนซ์
Symbol ชนิด Button Symbol ชนิด Button.
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Power Point
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
การตั้งค่า Mouse จัดทำโดย นายนรินทร์ เรือนคำ เลขที่ 13
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสร้างภาพเคลื่อนไหว
การตั้งค่า Mouse.
ประเภทของแอนิเมชั่นใน Flash
การเพิ่มประสิทธิภาพ คอมพิวเตอร์. วัตถุประสงค์วัตถุประสงค์ 1. สามารถบูทเข้า windows หรือ shut down ได้เร็วขึ้น 2. คอมฯมีพื้นที่ว่างในการทำงาน มากขึ้น 3.
บทที่ 2 เริ่มต้นใช้งาน Flash
บทที่ 8 การสร้างวัตถุเคลื่อนไหวโดย Bone Tool
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ Microsoft Visual C#
การเพิ่มลูกเล่นให้กับเว็บเพจ
การจัดการเกี่ยวกับรูปภาพตอนที่ ๒ การเรียงภาพหลายภาพเป็นภาพ เดียวกัน ๑. เข้าใช้งานชุดคำสั่ง ADOBE PHOTOSHOP รุ่น ๕. ๕.
นางสาวเบญจมาศ รัตน์พิทักษ์
บทที่ 9 การใช้งานฟอร์มและคอนโทรลต่าง ๆ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Symbol ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ครูผู้สอน นายกฤษชนะ สิงคาร.
เริ่มต้น Photoshop CS5.
ภาพนี้ชื่อว่าอะไร ? ก. แถบเมนูบาร์
ความหมาย รูปแบบหนึ่งของบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่ง มีการออกแบบบทเรียน โดยมีเป้าหมายที่จะเสนอ ข้อคำถามในรูปแบบต่าง ๆเพื่อให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ
เรื่อง การประยุกต์ใช้ : การม้วน ขอบภาพ / รุ้ง ใบความรู้ โดย..... ครูนิ่มอนงค์ เดชภูงา โรงเรียนศรีปทุมพิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33.
ง30219 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
การสร้างข้อความลงแผ่นสไลด์
1. เปิดเอกสาร Flash เลือกเมนู File -> New แล้วเลือก Flash File (ActionScript 2.0) 2. ไปที่เมนู Insert -> New Symbol 3. ที่หน้าต่าง Create New Symbol -
ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับโปรแกรม
เทคนิคการใช้ โปรแกรมเพาเวอร์พอยต์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Symbol & Instance

Symbol & Instance ซิมโบลคือภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว หรือปุ่ม ซึ่งเป็นต้นฉบับสำหรับการนำมาใช้ได้ไม่จำกัดจำนวนครั้งในรูปของ Instance เมื่อเรานำ Instance ของ Symbol มาใช้บนสเตจ เราสามารถปรับแต่ง Instance นั้นๆได้ เช่น เปลี่ยนสี ขนาด หมุน บิด ฯลฯ โดยที่การปรับแต่งนั้นจะไม่ส่งผลกระทบต่อ Symbol ต้นแบบและ Instance ตัวอื่นที่สร้างจาก Symbol เดียวกันนั้น แต่ถ้าเราแก้ไข Symbol มันจะไปปรับปรุง Instance ทุกตัวที่สร้างจาก Symbol ดังกล่าวโดยอัตโนมัติดังนั้นเมื่อนำ Symbol และ Instance มาใช้ในมูฟวี่จึงทำให้การแก้ไขมูฟวี่ทำได้ง่ายขึ้น

Symbol & Instance นอกจากนั้นการใช้ Symbol ในการสร้างมูฟวี่ยังช่วยลดขนาดไฟล์ลงได้ เนื่องจากการอ้างอิงถึง Symbol ต้องการพื้นที่ในการเก็บข้อมูลน้อยกว่า รวมถึงการเก็บรายละเอียดของออบเจ๊กใหม่แต่ละชิ้นก็ลดน้อยลงด้วย ตัวอย่างเช่น สามารถลดขนาดไฟล์มูฟวี่ลงได้ถ้าแปลงภาพฉากหลังที่เป็นภาพนิ่งไปเป็น Symbol การใช้ Symbol ยังช่วยให้เล่นภาพได้เร็วขึ้น เนื่องจากบราวเซอร์ จะดาวโหลด Symbol ตัวหนึ่งมาเพียงครั้งเดียว

ประเภทของ Symbol Symbol ที่คุณจะนำมาใช้ในมูฟวี่มี 3 ประเภท ซึ่ง Symbol แต่ละประเภทนั้นมีคุณสมบัติแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ในการนำไปใช้งาน Movie Clip ซิมโบลสำหรับสร้างภาพเคลื่อนไหว สามารถใส่เสียงประกอบได้ Button ซิมโบลสำหรับสร้างปุ่มใช้ตอบสนองต่อการกระทำของเมาส์ Graphic ซิมโบลสำหรับอ็อบเจ็คหรือภาพนิ่ง

การสร้าง Symbol การสร้าง Symbol จากออบเจ็คที่มีอยู่แล้ว เมื่อสร้าง Symbol จากออบเจ็คที่มีอยู่แล้วบนสเตจ มันจะเปลี่ยนออบเจ็คต้นแบบบนสเตจนั้น ให้กลายเป็น Instance โดยอัตโนมัติ มีขั้นตอนดังนี้ เลือกออบเจ็คบนสเตจ คลิกเมนู Modify->Convert to Symbol เลือก Symbol ตามต้องการ

การสร้าง Symbol การสร้าง Symbol ใหม่ ใช้คำสั่ง Insert->New Symbol

Symbol Buttons โปรแกรม Flash ได้รวบรวมรูปแบบปุ่มต่างๆ ไว้เป็นไลบรารีให้ผู้ใช้สามารถเรียกใช้ได้ โดยที่ผู้ใช้ไม่ต้องสร้างปุ่มขึ้นเอง คลิกเมนู Window > Common Libraries > Buttons สามารถเลือกปุ่มที่ต้องการมาวางบนสเตจเพื่อใช้งาน

สถานะปุ่ม สถานะของปุ่มจะประกอบด้วย 4 เฟรม เฟรม Up แสดงเมื่อเมาส์ชี้อยู่ภายนอกขอบเขตปุ่ม เฟรม Over แสดงเมื่อเมาส์ชี้อยู่ภายในขอบเขตปุ่ม เฟรม Down แสดงเมื่อปุ่มถูกคลิก เฟรม Hit ใช้กำหนดขอบเขตของปุ่ม เมื่อชี้เมาส์นอกปุ่ม เมื่อชี้เมาส์บนปุ่ม เมื่อกดปุ่ม

สถานะปุ่ม (Cont.) ปุ่มที่สร้างขึ้นสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามสถานะต่างๆ โดยสร้างปุ่มเริ่มต้น แล้วเลือกปุ่มที่สร้างขึ้น คลิกขวา เลือก Convert to Symbolกำหนดชนิดให้เป็น Button ดับเบิลคลิกที่ซิมโบลปุ่มนั้น จะเข้าสู่โหมดของสถานะปุ่ม สร้างคีย์เฟรมที่สถานะ Over แล้วเปลี่ยนแปลงลักษณะของปุ่ม สร้างคีย์เฟรมที่สถานะ Down แล้วเปลี่ยนแปลงลักษณะของปุ่ม สามารถทดสอบสถานะของปุ่มโดยคลิกเมนู Control > Test Movie กลับสู่โหมดปกติ โดยคลิกที่ Scene1

Library การเปิด Library การเปิด Library ทำได้โดยเลือกคำสั่ง Window->Library ใน Library จะมีรายชื่อของ Symbol เรียงกันเป็นลำดับพร้อมทั้งรายละเอียดของแต่ละ Symbol เมื่อคลิกเลือก Symbol จากรายชื่อ จะปรากฏภาพตัวอย่างของ Symbol นั้นที่ด้านบนของ Library เมื่อสร้าง Symbol จะถูกเก็บเข้ามาไว้ใน Library โดยอัตโนมัติ นอกจากนี้ใน Library ยังใช้เก็บรูปภาพบิตแมพ เสียง และ ไฟล์วิดีโอ ด้วยเช่นกัน

Library การเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของ Symbol เลือก Type->เลือกคุณสมบัติของ Symbol 2. หรือ คลิกที่ปุ่ม ด้านล่างของ Library สามารถ เปลี่ยนชื่อ และประเภทของ Symbol ได้ใน ไดอะล็อกบ็อกซ์ Symbol Properties

Library การสร้าง Folder สามารถสร้างโฟลเดอร์ขึ้นมาเพื่อให้ง่ายต่อการจัดเก็บ Symbol จำนวนมากๆ ซึ่งการใช้ โฟลเดอร์ของ Library ก็เหมือนกับการใช้โฟลเดอร์ของ Windows เช่นสามารถสร้างโฟลเดอร์ซ้อนกันหลายๆชั้น และเมื่อต้องการย้าย Symbol ระหว่างโฟลเดอร์ก็ใช้เมาส์คลิกลากชื่อหรือไอคอนของ Symbol นั้นไปปล่อยบนโฟลเดอร์ปลายทาง การสร้างโฟลเดอร์ทำได้โดย คลิกปุ่ม New Folder

Library การทำสำเนา Symbol การสำเนา Symbol เพื่อสร้าง Symbol ใหม่ซึ่งมีเนื้อหา เหมือนกับ Symbol เดิมที่มีอยู่แล้ว วิธีการทำสำเนามีดังนี้ 1. คลิกเลือก Symbol ใน Library 2. เลือกคำสั่ง Duplicate จากเมนู Option ของ Library หรือ คลิกขวาที่ชื่อ Symbol แล้วเลือกคำสั่ง Duplicate จากเมนูลัด

Library การแก้ไข Symbol การแก้ไข Symbol โปรแกรมจะทำการปรับปรุง Instance ทั้งหมด ของ Symbol นั้นที่มีการใช้ในมูฟวี่ให้โดยอัตโนมัติ สามารถ เปลี่ยนได้ 2 วิธีดังนี้ 1. คลิกเลือก Symbol ใน Library คลิกขวาที่ชื่อ Symbol แล้ว เลือกคำสั่ง Edit จากเมนูลัด หรือ ดับเบิ้ลคลิกที่ Symbol 2. ดับเบิ้ลคลิกที่อ็อบเจ็ค บนสเตจ