วิธีการเขียนรายงานการประเมิน (บทสรุปผู้บริหาร การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา)
การเขียนบทสรุปสำหรับผู้บริหาร บทนำ (Organization Profile)โดยย่อ การพัฒนาที่สำคัญจากปีที่ผ่านมา คะแนนประเมินโดยรวม คะแนนประเมินของรายองค์ประกอบ (ระดับดีมากองค์ประกอบใดบ้าง ระดับดีองค์ประกอบใด และระดับพอใช้องค์ประกอบใดบ้าง) จุดแข็งที่สำคัญ จุดที่ควรพัฒนาที่สำคัญ การปฏิบัติที่ดี (ถ้ามี) นวัตกรรม (ถ้ามี) Internal QA
จุดแข็ง ปัจจัยที่ช่วยส่งเสริมหรือสนับสนุนให้คณะ/สถาบันมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องหรือพัฒนาอย่างก้าวกระโดด แนวทางเสริมจุดแข็ง จะนำจุดแข็งมาใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อคณะ/สถาบันอย่างไร หรือจะทำให้จุดแข็ง แข็งยิ่งขึ้นอย่างไร Internal QA
ตัวอย่างนี้ใช่จุดแข็งหรือไม่ องค์ประกอบที่ 1 1. คณะมีแผนกลยุทธ์ที่เชื่อมโยงกับแผนกลยุทธ์ของ มหาวิทยาลัยอย่างชัดเจน 2. มหาวิทยาลัยให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มมีส่วนร่วม ในการจัดทำแผนกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัย 3. คณะมีผู้บริหารที่มีวิสัยทัศน์กว้างไกลและเป็นผู้ที่ เคยมีประสบการณ์บริหารสถาบันการศึกษาในระดับสากล Internal QA
ตัวอย่างนี้ใช่จุดแข็งหรือไม่ องค์ประกอบที่ 2 1. มหาวิทยาลัยมีโครงสร้างของเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology Infrastructure) ที่ สนับสนุนการเรียนรู้ของนักศึกษาที่ทันสมัยทัดเทียมมหาวิทยาลัยชั้นนำของโลก 2. คณะมีอาจารย์สอนดี จนผลการประเมินจากนักศึกษา ไม่ต่ำกว่า 4.00 ทุกรายวิชา Internal QA
ตัวอย่างจุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง องค์ประกอบที่ 2 จุดแข็ง : มหาวิทยาลัยมีอาจารย์ที่มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอก และตำแหน่งทางวิชาการในสัดส่วนที่สูงมาก เมื่อเทียบกับมหาวิทยาลัยอื่นๆ ใน กลุ่มเดียวกัน แนวทางเสริมจุดแข็ง : 1. พัฒนาระบบ fast track ที่จะให้อาจารย์ คงอยู่กับมหาวิทยาลัยและเพิ่มผลงาน ให้มหาวิทยาลัย 2. จัดภาระงานและสภาพแวดล้อมให้ เอื้อต่อการผลิตผลงานทางวิชาการ Internal QA
ตัวอย่างจุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง ภาพรวม จุดแข็ง : คณะมีเครือข่ายทางด้านวิชาการและวิชาชีพที่ กว้างขวางและมีความสัมพันธ์กับเครือข่ายเป็น เวลายาวนาน แนวทางเสริมจุดแข็ง : ให้มีผู้รับผิดชอบในแต่ละเครือข่าย และจัดทำแผนการจัดกิจกรรมกับ เครือข่ายประจำปี Internal QA
จุดที่ควรพัฒนา ข้อเสนอแนะ อะไรเป็นปัญหาของคณะ/สถาบัน หรืออะไรที่คณะ/สถาบัน จะต้องพัฒนาที่นอกเหนือจากเกณฑ์ตามตัวบ่งชี้ (ระบบ บุคลากร การบริหาร ฯลฯ ) เพื่อให้คุณภาพการศึกษาดีขึ้น (What) ข้อเสนอแนะ แนวทางการแก้ปัญหาหรือแนวทางการพัฒนาเพื่อให้คุณภาพ การศึกษาดีขึ้น (How to improve) วิเคราะห์ถึงสาเหตุของปัญหาและบริบทของคณะ/สถาบันเพื่อให้ได้ข้อเสนอแนะที่มีความหมายและนำไปปฏิบัติได้ Internal QA
ตัวอย่างนี้เหมาะสมหรือไม่ จุดที่ควรพัฒนา คุณวุฒิอาจารย์ที่เป็นปริญญาเอกยังไม่เป็นไป ตามเกณฑ์ ข้อเสนอแนะ สนับสนุนให้อาจารย์ศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก ให้มากขึ้น Internal QA
ตัวอย่างจุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะ องค์ประกอบที่ 1 จุดที่ควรพัฒนา : การจัดทำแผนกลยุทธ์ที่เน้นพันธกิจมากกว่า ทิศทางการพัฒนา ข้อเสนอแนะ : การวิเคราะห์ SWOT และพัฒนากลยุทธ์ที่เชื่อมโยง กับผลการวิเคราะห์ SWOT อย่างชัดเจน - ใช้ Strength อย่างไร - แก้ Weakness อย่างไร - ใช้ Opportunity อย่างไร - หลีกเลี่ยงหรือลดความเสียหายจาก Threat อย่างไร Internal QA
ตัวอย่างจุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะ ภาพรวม จุดที่ควรพัฒนา : การบูรณาการพันธ กิจ ข้อเสนอแนะ : ออกแบบการบูรณาการโดยต้องกำหนด วัตถุประสงค์ในการบูรณาการ ตัวบ่งชี้ ความสำเร็จในการบูรณาการ (ตามวัตถุประสงค์) และลักษณะการบูรณาการ Internal QA
แนวปฏิบัติที่ดี ระบบ กระบวนการทำงาน หรือขั้นตอนการ ทำงานที่ได้เทียบเคียง (benchmark) กับหน่วยงานอื่นแล้วว่าได้ผล งานดีกว่า หรือผลงาน เท่ากันแต่ใช้ input (เงิน เวลาของบุคลากร ฯลฯ) น้อยกว่า Internal QA
ตัวอย่างนี้เป็นแนวปฏิบัติที่ดีหรือไม่ คณะมีโครงการ/กิจกรรมบริการ วิชาการที่หลากหลาย ระบบการพัฒนาโครงการ/กิจกรรมบริการวิชาการจากความต้องการของผู้รับบริการ โดยใช้ระบบสารสนเทศและเทคนิค Data Mining Internal QA
นวัตกรรม เป็นสิ่งใหม่ที่ไม่เคยพบว่ามี หน่วยงานใดทำมาก่อน มี 3 แบบ คือ นวัตกรรมกระบวนการ (Process Innovation) นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ (Product Innovation) และนวัตกรรม โครงสร้าง (Structure Innovation) Internal QA
– โครงสร้างการบริหารงานไม่เหมือนที่อื่น (process นวัตกรรมกระบวนการ – ขั้นตอนหรือรูปแบบการดำเนินการไม่เหมือนที่อื่น และได้ผลลัพธ์เท่าหรือดีกว่าที่อื่น นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ – ผลิตภัณฑ์แปลกใหม่ นวัตกรรมโครงสร้าง – โครงสร้างการบริหารงานไม่เหมือนที่อื่น (process organization, flat organization, centralize นโยบายแต่ decentralize การปฏิบัติ เป็นต้น) Internal QA