ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โรงเรียนห้องเรียน วิทยาศาสตร์
วัตถุประสงค์ 1. เร่งรัดพัฒนานักเรียนที่มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี 2. สร้างฐานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม 3. สนับสนุนการพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์
เป้าหมาย พัฒนานักเรียนที่มีความสามารถพิเศษด้าน วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ในระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลายในโรงเรียนที่มีความพร้อม ชั้นละ 1 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน 30 คนต่อ ห้อง
ตัวชี้วัด ความสำเร็จ ด้านตัวป้อน : นักเรียนทุกคนที่สมัครเข้าเรียน ห้องเรียนวิทยาศาสตร์ มีระดับสติปัญญาใน กลุ่มฉลาดขึ้นไปผ่านการประเมินความสามารถทาง วิชาการด้วยเครื่องมือและกระบวนการที่มีคุณภาพ เทียบเคียงกับของโรงเรียนวิทยาศาสตร์ ด้านกระบวนการ : ระบบบริหารจัดการทั้งใน ด้านบุคลากร หลักสูตร สื่อ ห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์การเรียน การสอน สิ่งแวดล้อม มีคุณภาพ เทียบเคียงกับของโรงเรียนวิทยาศาสตร์
60 60 ด้านผลผลิต : นักเรียนห้องเรียนวิทยาศาสตร์ ที่สำเร็จการศึกษามีความรู้ ความสามารถ มีทักษะ ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี เทียบเคียงกับของโรงเรียนวิทยาศาสตร์ ร้อยละ 60 ของนักเรียนที่กำลังศึกษาไปศึกษาต่อด้าน วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี และ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 เป็นนักวิจัยหลังสำเร็จ การศึกษา ครู ผู้ปกครอง ชุมชน มีความพึง พอใจในผลการดำเนินงานของโรงเรียน
กิจกรรมการ พัฒนา 1. การพัฒนา โรงเรียน 1.2 มีการปรับและจัดทำหลักสูตรเฉพาะนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ มีการบูรณาการในทุกรายวิชาและทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ชัดเจน มีวงจรหลักสูตรที่สามารถปรับให้สั้นลงเพื่อให้ทันและสอดคล้องกับ ความเจริญก้าวหน้า และเทคโนโลยีสมัยใหม่ 1.1 โรงเรียนมีวิสัยทัศน์ แผนการดำเนินงาน มีเครื่องมือการคัดกรอง นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ มีหลักสูตรเฉพาะ และมีระบบ การส่งต่อ
1.3 มีสื่อ อุปกรณ์ที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ มีศักยภาพที่จะผลิตสื่อ การเรียน การสอน มีการใช้อินทราเน็ตช่วยในการเรียนการสอน 1.4 มีการพัฒนาครูให้รู้จักวิเคราะห์ สังเคราะห์ และรู้จักการบูรณาการ วิธีการใช้สื่อ / อุปกรณ์ ได้รับการอบรมเทคนิควิธีการสอนแบบเน้น นักเรียนเป็นสำคัญ เน้นการสอนแบบมีส่วนร่วม มีโอกาสศึกษาดูงาน และแลกเปลี่ยนกับโรงเรียนอื่น ๆ ที่มีศักยภาพได้มาตรฐาน ทั้งใน และนอกประเทศ
1.5 มีเครือข่ายกับมหาวิทยาลัยในท้องถิ่น ที่จะทำโครงงานวิทยาศาสตร์ ร่วมกัน จัดทำแผนการอบรมครูแผนใหม่อย่างเป็นระบบ 1.6 มีการปรับการวัดและการประเมินผล โดยที่มีการทำข้อสอบ แบบอัตนัยมากขึ้น ลดข้อสอบแบบปรนัย มีการจัดทำข้อสอบกลาง ที่มีมาตรฐานเดียวกัน มีการกำหนดเกณฑ์มาตรฐานทั้งทางด้าน หลักสูตร ครู การเรียนการสอน สื่อ - อุปกรณ์ และการประเมินผล 1.7 มี website เผยแพร่ความรู้ การดำเนินงาน ของโรงเรียน และนักเรียน
2. การพัฒนา นักเรียน 2.1 นักเรียนที่มีความสามรถพิเศษได้รับการแบ่งกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน เพื่อนำมาพัฒนาเฉพาะด้าน ตรงตามศักยภาพ 2.2 นักเรียนมีโอกาสแสดงผลงาน / ประกวดแข่งขัน / สัมมนาแลกเปลี่ยน ประสบการณ์เรียนรู้ของนักเรียน (symposium) 2.3 นักเรียนได้รับการสนับสนุนให้จัดทำโครงงาน / โครงการวิจัย
2.4 นักเรียนได้รับการสนับสนุนให้จัดทำโครงงาน / โครงงานวิจัย 2.5 นักเรียนได้รับการพัฒนาและได้รับการสนับสนุนในการเข้าแข่งขัน ประกวดระดับประเทศ ระดับชาติ
5. สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้อง 6. ร่วมมือและแลกเปลี่ยนวิชาการทั้งในประเทศและต่างประเทศ 7. ร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดกิจกรรมเสริม จัดทำโครงงานและฝึกงาน 3. สรรหาคนดี คนเก่ง มาเป็นบุคลากรของโรงเรียน 4. พัฒนาครูให้มีศักยภาพสูงขึ้น 1. พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร กระบวนการ เรียนรู้ และระบบ การบริหารจัดการเป็นการเฉพาะสำหรับ ห้องเรียนวิทยาศาสตร์ 2. พัฒนาและปรับปรุงและปรับปรุงเครื่องมือและกระบวนการสรรหา นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ กลยุทธ์ในการ ดำเนินงานของ โรงเรียน