การเตรียมตัวถ่ายภาพ Outdoor Photography

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การ อบรม โครงการพัฒนาระบบ สารสนเทศชุมชนภายใต้ โครงการจัดตั้งศูนย์การ เรียนรู้ ICT ชุมชน.
Advertisements

แอ่วเชียงฮายโต้ยกันนะเจ้า...า..า
การถ่ายภาพงานพัฒนาชุมชน
การอบรมการใช้ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
จุด ส่วนของเส้นตรง เส้นตรง รังสี มุม
บทที่ 6 การใช้สีสำหรับเว็บไซต์
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
น้ำหนักแสงเงา.
น้ำหนักแสงเงาหุ่นนิ่ง
เรื่อง องค์ประกอบศิลป์ โดย นายสมพงษ์ ถาวรโชติวงศ์ โรงเรียนเบญจมราชาลัย
กลุ่ม L.O.Y..
เทคนิคการถ่ายภาพ คณะกรรมการจัดการความรู้ กองกิจการนักศึกษา.
ต้องโปสเตอร์แบบไหน จึง “ได้” และ “โดน” ใจคนดู
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ ม. 3
การวาดเส้นองค์ประกอบศิลป์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
นวัตกรรมน่ารู้ นางสาวสินีนาฎ อุ่นใจเพื่อน
รูปแบบการจัดองค์ประกอบ
สื่อประกอบการเรียนรู้
แผนการเรียนรู้ เรื่อง การจัดองค์ประกอบของการถ่ายภาพ
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
ประวัติการถ่ายภาพ(1) วิชาการถ่ายภาพ ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องกันมาหลายร้อยปีตามลำดับ ก่อนจะมีกล้องถ่ายภาพ จนในศตวรรษที่ 19 มนุษย์ก็ประสบความสำเร็จในการคิดค้นกระบวนการสร้างภาพ.
องค์ประกอบ Graphic.
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
การสร้างงานกราฟิก.
วิชาถ่ายภาพ.
Poster Presentation โดย สำหรับ การประชุม สคร.5 รศ.นพ.สมพนธ์ ทัศนิยม
สภาพท้องฟ้า หลักปฏิบัติในการตรวจอากาศ
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
หลักศิลปะเพื่อการออกแบบสวน
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
“เทคนิคการเป็นพิธีกรมืออาชีพ” ดร.สมเดช รุ่งศรีสวัสดิ์
แนวทางการดำเนินงานในการสำรวจพื้นที่ล่อแหลม
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
หลักการออกแบบ ครูอนุชา สุระถา MR.ANUCHA SURATHA ครูนฤศรณ์ วิมลประสาร MR.NARUSORN WIMONPRASARN.
การจัดองค์ประกอบภาพ.
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
กระต่ายเนเธอร์แลนด์ ดวอร์ฟ
ระบบสี และ การแสดงผลภาพ
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ โดย .. เอ็ดเวิร์ด เดอโบโน
หลักเกณฑ์การออกแบบ.
เทคนิควิธี การซ้อนภาพให้ดูเนียน ด้วย โปรแกรม PhotoShop
การจัดองค์ประกอบของภาพ
Tip & Trick ตัดต่อ และซ้อนภาพ ปรับแต่งภาพให้สีสันสดใส
แต่งภาพให้สวยด้วยจุดตัด 9 ช่อง
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
Habitat Winter No. 14 “ สีสันสร้างอารมณ์ ”. Habitat Winter No. 14 การทาสีในแนวขวาง ให้ พื้นที่สีจากด้านล่างมาก ที่สุดไปน้อยที่สุด เพิ่ม ความสนุกสนานให้กับการ.
เทคนิคการถ่ายรูปภาพ & วีดีโอ  ภาพที่ออกมาจะไม่มีสั่นไหว  ใช้ขาตั้งกล้อง  สถานที่หรือสิ่งของที่สามารถวางกล้องได้  ถือกล้องด้วย 2 มือให้ข้อศอกอยู่ในระดับหน้าอก.
กล้องโทรทรรศน์.
หน่วยที่ 8 การตกแต่งภาพถ่าย
อุทยานแห่งชาติ เขาสามร้อยยอด มี พื้นที่ทั้งหมด ประมาณ 98 ตาราง กิโลเมตร หรือ 61,300 ไร่ ลักษณะ ภูมิประเทศ ประกอบด้วยภูเขา หินปูนสลับซับซ้อน เป็นอุทยานแห่งชาติ
เทคนิคการถ่ายภาพ.
การนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ให้น่าสนใจได้อย่างไร
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
08:30-08:45 ตัวแทนโรงเรียนกล่าวเปิดการอบรม แนะนำ วิทยากร วิดีโอ “ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21” กิจกรรมสันทนาการ 09:00-09:40 แผนที่ชุมชน.
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
องค์ประกอบศิลป์สำหรับการถ่ายภาพ
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
เทคนิคการถ่ายภาพทิวทัศน์-บุคคล ในเวลากลางวันและกลางคืน
แว่นกรองแสง (Light Filter)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความรู้ทั่วไปของการการจัดสวน
การออกแบบการจัดสวนหย่อม
เรื่อง ประโยค.
“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้
การนำเสนองานด้วย PowerPoint อย่างมีประสิทธิภาพ
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
เกมทายนิสัย.
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเตรียมตัวถ่ายภาพ Outdoor Photography ประจำวันที่ 5 ธันวาคม 2551

อุปกรณ์การถ่ายภาพที่จำเป็นต้องใช้ กล้องดิจิตอล – แบบ Compact หรือ DSLR

แบตเตอรี่

เมมโมรี่ การ์ด (Memory card)

ขาตั้งกล้อง

รายละเอียดการเดินทาง 06.00 น. พร้อมกันที่แท่นพระเทพฯ เบรกฟาสต์เบา ๆ บนรถ 08.30 น. ถึง อ.มวกเหล็ก ทุ่งทานตะวันกำลังผลิดอกสะพรั่ง เชิญเพื่อน ๆ ทดสอบฝีมือ พร้อมคำแนะนำจากช่างภาพมืออาชีพ สมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย 11.00 น. ถึง อ.ปากช่อง ร้านอาหาร(คาดว่าจะเป็นร้านบ้านไม้ชายน้ำ) ร่วมรับประทาน อาหารกลางวันร่วมกัน ที่ร้านนี้ มีมุมถ่ายภาพให้ได้ทดลองกล้องกันหลายมุม 14.00 น. เดินทางถึง ศูนย์ฝึกสุนัขสงคราม ริมถนนมิตรภาพ แยกย้ายกันชมโชว์ต่าง ๆ ตามใจชอบ เช่นโชว์สุนัขทหาร โชว์ขี่ม้าข้ามเครื่องกีดขวางต่างๆ 15.00 น. ชมโชว์ร่มบิน (พารามอเตอร์) 16.00 น. ขบวนบอลลูน เคลื่อนเข้าประจำที่ เตรียมกล้องให้พร้อม ไฮไลท์ นับแต่นาทีนี้เป็น ต้นไป 18.00 น. บอลลูนลูกสุดท้าย ลอยสู่ท้องฟ้า ขอเชิญสมาชิก เตรียมเดินทางกลับ 18.30 น. พบกันที่รถ เดินทางกลับ กคช.

เทคนิคการถ่ายภาพที่ทุกคนควรทราบ

กฎสามส่วน (Rule of Third) การจัดวางตำแหน่งหลักของภาพถ่าย เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สามารถทำให้เกิดผลทางด้านแนวความคิด และความรู้สึก การวางตำแหน่งที่เหมาะสมของจุดสนใจในภาพ เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่สำคัญ และที่นิยมกันโดยทั่วไปคือ กฎสามส่วน กฎสามส่วนกล่าวไว้ว่า ไม่ว่าภาพจะอยู่แนวตั้งหรือแนวนอนก็ตาม หากเราแบ่งภาพนั้นออกเป็นสามส่วน ทั้งตามแนวตั้งและแนวนอน แล้วลากเส้นแบ่งภาพทั้งสามเส้น จะเกิดจุดตัดกันทั้งหมด 4 จุด ซึ่งจุดตัดของเส้นทั้งสี่นี้ เป็นตำแหน่งที่เหมาะสมสำหรับการจัดวางวัตถุที่ต้องการเน้นให้เป็นจุดเด่นหลัก ส่วนรายละเอียดอื่นๆนั้น เป็นส่วนสำคัญที่รองลงมา

จากตัวอย่างจะเห็นได้ว่า อัตราส่วนระหว่างพื้นดินกับท้องฟ้าเป็น 1:3 นอกจากนี้ตำแหน่งจุดสนใจยังอยู่ที่บริเวณจุดตัด ทำให้ภาพดูสมบูรณ์ และน่าสนใจยิ่งขึ้น และเรายังสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการจัดองค์ประกอบภาพอื่นๆ โดยใช้หลักการเดียวกัน

เทคนิคการวางเส้นขอบฟ้า การวางเส้นขอบฟ้า กรณีที่ต้องการถ่ายภาพที่มีเส้นสาย ไม่ว่าจะเป็นขอบฟ้า ขอบน้ำ หรือภูเขา การวางเส้นเหล่านี้ มักจะแบ่งพื้นที่ของภาพออกเป็น 3 ส่วน โดยอาจแบ่งเป็นพื้นที่น้ำ 2 ส่วน แล้วฟ้าหนึ่งส่วน  หรือสลับกันได้ตามความสวยงาม โดยจะวางเส้นเหล่านี้ในแนวเส้นทึบตามรูป

เทคนิคเล่นสีคู่ตรงข้าม การเลือกใช้สีคู่ตรงข้ามจะทำให้งานที่ได้มีความสะดุดตาในการมองแต่ก็ต้องระวังการ ใช้สีคู่ตรงข้าม เพราะการเลือกใช้สึคู่ตรงข้ามด้วยกันนั้นถ้าเราหยิบสี 2 สีที่ตรงข้ามกันมาใช้ในพื้นที่พอๆกัน งานนั้นจะดูไม่มีจุดเด่น ทางที่ดีเราควรแบ่งพื้นที่ของสีในภาพของการใช้สีใดสีหนึ่งมากกว่าอีกสีหนึ่งโดยประมาณมักจะใช้สีหนึ่ง70 % อีกสีหนึ่ง 30 % ภาพที่ได้ก็จะคงความมีเอกภาพอยู่ และยังมีความเด่นสะดุดตาไปได้ในตัว

มุม Polarization มุม PL คือมุมที่ท้องฟ้าให้สีฟ้าเข้มที่สุด

สำหรับคนที่ใช้กล้อง DSLR แนะนำให้ใช้ตัวช่วยหนึ่งตัว ซึ่งก็คือ Circular Polarizer หรือ C-PL

รูปเปรียบเทียบระหว่างใช้ C-PL กับไม่ใช้ C-PL

เทคนิคการถ่ายภาพย้อนแสง (Silhouete) การถ่ายภาพย้อนแสงหรือภาพเงาดำ ภาพประเภทนี้นักถ่ายภาพสมัครเล่นไม่ค่อย ให้ความสนใจ เพราะจะได้ภาพที่ไม่ชัด ไม่เห็นรายละเอียดของวัตถุ ถ้าถ่ายภาพ คนจะมองดูแล้วมืด แต่ที่จริงแล้วภาพย้อนแสงไม่ว่าจะเป็นภาพสี หรือขาว–ดำ ก็ตามจะช่วยให้เราเรียนรู้เรื่องรูปร่าง (Shape) ของวัตถุที่บังแสงอยู่ นักถ่ายภาพ อาชีพมักจะเสาะแสวงหาภาพประเภทนี้อยู่เสมอ เพราะภาพย้อนแสงจะให้ทั้งความงาม ให้อารมณ์ ให้สีสันรุนแรง ให้ความแปลกตาไปอีกลักษณะหนึ่งการถ่ายภาพย้อนแสง ควรถ่ายให้ภาพมีช่วงความชัดลึก โดยเปิดช่องรับแสงให้แคบกว่าปกติเล็กน้อย พยายามเลือกวัตถุที่มีโครงร่างที่สวยงามหามุมย้อนแสง โดยวางจังหวะของดวงอาทิตย์ ให้พอดี