ซึ่งดำรงตำแหน่งที่ ก.พ. กำหนดเป็นระดับ 6 การย้ายข้าราชการ ซึ่งดำรงตำแหน่งที่ ก.พ. กำหนดเป็นระดับ 6
ความหมาย การย้ายข้าราชการซึ่งดำรงตำแหน่งที่ ก.พ. กำหนดเป็นระดับ 6 ในตำแหน่งเลขที่หนึ่งไปดำรงตำแหน่งที่ ก.พ. กำหนดเป็นระดับ 6 ในตำแหน่งเลขที่อื่น ซึ่งอาจจะเป็นตำแหน่งเดียวกันหรือต่างตำแหน่ง ก็ได้ โดยข้าราชการที่จะย้ายต้องมีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง ตรงตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่งที่จะย้าย
หลักเกณฑ์ มีตำแหน่งว่าง มีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งตรงตาม มีตำแหน่งว่าง มีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งตรงตาม มาตรฐานกำหนดตำแหน่งที่ ก.พ. กำหนด รับเงินเดือนไม่สูงกว่าเดิม
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน แจ้งสำนัก/กอง เจ้าของเรื่อง ตรวจสอบอัตราเงินเดือน รับเรื่อง ตรวจสอบคุณสมบัติฯ คุณสมบัติไม่ครบถ้วน แจ้งสำนัก/กอง เจ้าของเรื่อง สงวนตำแหน่ง (กอ.บค.) ตรวจสอบอัตราเงินเดือน (ฝงง.) ขอความเห็นชอบ อธิบดี เสนอรองอธิบดี จัดทำคำสั่ง
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (การย้ายข้าราชการไปดำรงตำแหน่งต่างสังกัด) 1. ตรวจสอบคุณสมบัติของข้าราชการที่จะย้ายให้มีคุณสมบัติครบถ้วน ตรงตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง 2. จัดทำบันทึกถึง กอ.บค. และ ฝงง. เพื่อตรวจสอบตำแหน่งว่างและ อัตราเงินเดือน 3. จัดทำบันทึกเสนอรองอธิบดีในสายงาน เพื่อพิจารณา ให้ความเห็นชอบ
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (การย้ายข้าราชการไปดำรงตำแหน่งต่างสังกัด) 4. เสนออธิบดี เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ 5. จัดทำคำสั่งย้ายข้าราชการ เสนอกรมฯ (ทุกวันที่ 15 ของเดือน)
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (การย้ายข้าราชการในสังกัดเดียวกัน) 1. ตรวจสอบคุณสมบัติของข้าราชการที่จะย้ายให้มีคุณสมบัติครบถ้วน ตรงตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง 2. ให้ฝ่ายบริหารทั่วไป เสนอเรื่องไปยังกลุ่มอัตรากำลังและระบบงาน สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล ตรวจสอบและ สงวนตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง และเสนอเรื่องไปยังฝ่ายควบคุมเงินเดือน และค่าจ้าง กองการเงินและบัญชี ตรวจสอบอัตราเงินเดือน
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (การย้ายข้าราชการในสังกัดเดียวกัน) 3. เสนอคณะกรรมการพิจารณากลั่นกรองการย้ายของสำนัก หรือกอง เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบในการย้าย 4. ดำเนินการจัดทำคำสั่งเสนอผู้อำนวยการสำนัก/ผู้อำนวยการกองลงนาม 5. ส่งสำเนาคำสั่ง จำนวน 9 ชุด ให้สำนักพัฒนาโครงสร้างและ ระบบบริหารงานบุคคล ภายใน 7 วัน นับตั้งแต่วันที่ออกคำสั่ง