รายละเอียดข้อมูลเพื่อจัดทำแผนบริหารจัดการน้ำ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
Advertisements

การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
ยุทธศาสตร์พัฒนาลุ่มน้ำยม
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
แผนยุทธศาสตร์เพื่อการเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
การออกแบบงานชลประทานเบื้องต้น (สำหรับบุคลากรในสายสนับสนุนกรมชลประทาน)
โครงสร้างสำนักอุทกวิทยาและบริหารน้ำ
สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปี 2552
การพัฒนาลุ่มน้ำปิงตอนล่างแบบบูรณาการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ตำแหน่งติดตั้งเครื่องผลักดันน้ำที่เหมาะสม
COP : พัฒนาแหล่งน้ำ.
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ภูมิพลอดุลยเดช
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ความก้าวหน้าของการจัดการ ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
พื้นที่ลุ่มน้ำภาคตะวันออก ลุ่มน้ำชายฝั่งทะเลตะวันออก
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
โครงการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ในทัศนะของ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน โดย ดร.สำราญ ภูอนันตานนท์ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ๘ ก.ค.๔๘.
นโยบายของท่านเลขาธิการ ส.ป.ก. ด้านการพัฒนาแหล่งน้ำและระบบชลประทาน
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล รองประธานกรรมการหอการค้าไทย วันพุธที่ 21 ธันวาคม 2554 ณ ห้องคริสตัล ฮอลล์ โรงแรมพลาซ่า แอทธินี บูรณาการประเทศไทย ก้าวพ้นภัยพิบัติ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่อง มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการประกอบกิจการโรงงาน ขุด ตัก ลอกหรือดูดทรายหรือดินในที่ดินกรรมสิทธิ์ สำหรับใช้ในการก่อสร้าง.
ที่ดินเพื่อกิจการชลประทาน
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
3. ข้อมูลแหล่งน้ำที่พัฒนา
การประชุมผู้บริหารกรมทรัพยากรน้ำ ครั้งที่ 9/2549 ระเบียบวาระที่ 4.4 การจัดทำคำของบประมาณจาก กองทุนสิ่งแวดล้อมเพื่อการฟื้นฟู อนุรักษ์แหล่งน้ำ ธรรมชาติ การจัดทำข้อเสนอโครงการเพื่อ.
วาระที่ การจัดทำแผนพัฒนาแหล่งน้ำ
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกรมทรัพยากรน้ำ ”
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตาม ยุทธศาสตร์กรมปี 2552 เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนา ปรับปรุงการทำงาน วันที่ ธันวาคม 2552 ณ ห้องชลาลัย.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรน้ำ
แผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ
การวิเคราะห์ประเด็น ปัญหาการเฝ้าระวังใน พื้นที่ นายมนัสพร ภมรบุตร นักพัฒนาสังคมชำนาญการ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์จังหวัดเชียงใหม่
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
สรุปการประชุมระดมความคิด
การประชาคมชุมชน โครงการการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
โครงการประตูระบายน้ำห้วยบังอี่ บ้านนาโพธิ์ ตำบลโพธิ์ไทร
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ
ภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ
ข้อเสนอโครงการ ภายใต้กรอบแนวคิดการ พัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุน การตัดสินใจ จัดทำโดย หน่วยงาน หน่วยงาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย.
ภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ
บทสรุปจากการประชุม เครือข่ายระบบสารสนเทศน้ำจังหวัด
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มที่ 3 ภาคกลาง
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายละเอียดข้อมูลเพื่อจัดทำแผนบริหารจัดการน้ำ ของคณะอนุกรรมการ ชุดที่ 1 (พื้นที่ภาคเหนือ กลาง และตะวันออก) เสนอต่อ คณะกรรมการกำหนดนโยบายและการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ

ขอความร่วมมือส่วนภูมิภาค ดังนี้ ชี้แจง Road map การทำงาน 5 ขั้นตอนต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ผู้ว่าฯ คณะกรรมการลุ่มน้ำฯ หน่วยงานราชการส่วนภูมิภาค (Sl4-5) ประชาสัมพันธ์กำหนดการจัดการรับฟังสภาพปัญหาของลุ่มน้ำ เพื่อหาแนวทางแก้ไข (Sl10-13) พิจารณาพื้นที่เป้าหมายในพื้นที่ทั้งการขาดแคลนน้ำ น้ำท่วม และคุณภาพน้ำ โดยต้องมีองค์ประกอบครบทั้ง ตำแหน่งที่เกิดปัญหา ช่วงเวลา ความถี่ และผลกระทบ(ความเสียหาย) เสนอวิธีการแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมกับพื้นที่ตามมาตรการที่เสนอไว้ (sl5-7) หรือเพิ่มเติมมาตรการใหม่ เสนอข้อมูลผ่าน ผส.ชป. และ สบก. ภายในวันที่ 3 กันยายน 57 หากต้องการข้อมูลรายลุ่มน้ำเพิ่มเติม ติดต่อ ภาคเหนือ : กง.วค.๑ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : กง.วค.๒ ภาคใต้ : กง.วค.๓ ภาคกลางและภาคตะวันออก : กง.วค.๔

กรอบแนวคิดการดำเนินงานเพื่อจัดทำแผนบริหารจัดการน้ำ นิยาม 1 ภัยแล้ง น้ำท่วม คุณภาพน้ำ หลักเกณฑ์ ตำแหน่ง /ช่วงเวลา /ความถี่/ผลกระทบ ชี้ปัญหา - มหานคร - พื้นที่เศรษฐกิจ ศูนย์กลางหลัก ศูนย์กลางรอง ชนบท พื้นที่เศรษฐกิจ - อุปโภคบริโภค - รักษานิเวศ เกษตร อุตสาหกรรม 2 น้ำเสีย น้ำเค็ม ธรรมชาติ มนุษย์ เฉพาะที่ แหล่งอื่น วิเคราะห์ สาเหตุ 3 กลยุทธ์ ต้นน้ำ/กลางน้ำ /ปลายน้ำ มาตรการ - ไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง - ใช้สิ่งก่อสร้าง การมีส่วนร่วม ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ - ภัยแล้ง - น้ำท่วม คุณภาพน้ำ 4 เชิงรุก โครงการ เล็ก กลาง ใหญ่ จัดกลุ่ม เชิงรับ เป้าหมาย 5 แผนงาน ดำเนินการทันที ศึกษา เร่งด่วน 2558 สั้น 2559 กลาง 2560-2564 ยาว 2565 ขึ้นไป แผนบริหาร จัดการน้ำ ตัวชี้วัด (ลักษณะโครงการ) ชัดเจน / (แก้ปัญหาได้อย่างสัมฤทธิ์ผล) ตรงจุด / คุ้มค่า / ยั่งยืน

การรับฟังปัญหาระดับพื้นที่ ภัยแล้ง 1.อุปโภคบริโภค 2.รักษานิเวศ 3.เกษตร 4.อุตสาหกรรม นิยาม 1.ชี้ปัญหา 1.กลุ่มมหานคร 2.กลุ่มเศรษฐกิจ 3.เมืองศูนย์กลางหลัก 4.เมืองศูนย์กลางรอง 5.เมืองศูนย์กลางชนบท 6. เกษตร น้ำท่วม หลักเกณฑ์ ตำแหน่ง /ช่วงเวลา /ความถี่/ผลกระทบ คุณภาพน้ำ 1.น้ำเสีย 2.น้ำเค็ม ธรรมชาติ มนุษย์ 2.วิเคราะห์สาเหตุ วิธีวิเคราะห์ สถิติ-แนวโน้ม/SWOT เกิดเฉพาะพื้นที่/แหล่งอื่น ภูมิกายภาพลุ่มน้ำ อุตุ อุทก - น้ำบาดาล การใช้ที่ดิน (เกษตร-ป่าไม้) ประชากร/เศรษฐกิจสังคม ไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง : 1.บริหารจัดการน้ำต้นทุน 2.บริหารจัดการน้ำหลาก 3.ฟื้นฟูป่าต้นน้ำ 4.พืชคลุมดิน 5.zoning (เกษตร-อุตสาหกรรม) 6.ระบบปลูกพืช 7.3R 8.ระบบเฝ้าติดตาม/พยากรณ์/เตือนภัย 9.พัฒนา/เชื่อมโยงระบบฐานข้อมูล 10.ระบบติดตามประเมินผล 11.หน่วยงาน/องค์กร 12.นโยบาย/กฎหมาย 13.มาตรการช่วยเหลือทางการเงิน 14.ประชาสัมพันธ์ 3.ยุทธศาสตร์ ภัยแล้ง/น้ำท่วม/คุณภาพน้ำ กลยุทธ ใช้สิ่งก่อสร้าง : 1.พัฒนาแหล่งกักเก็บ 2.โครงข่ายน้ำ 3.เติมน้ำลงชั้นใต้ดิน 4.ปรับปรุง/พัฒนาระบบป้องกันน้ำเค็ม 5.ปรับปรุงพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสีย 6.ระบบส่งน้ำ 7.ปรับปรุงประสิทธิภาพโครงการเดิม 8. ผันน้ำ/ช่องลัด 9.เพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำ 10.ระบบป้องกันน้ำท่วม 11.ย้าย/พัฒนาพท.เศรษฐกิจใหม่ ภาคเหนือ กลาง ตะวันออก การรับฟังปัญหาระดับพื้นที่ มาตรการ เชิงรุก 4.จัดกลุ่มโครงการ กลุ่มแก้ปัญหาภัยแล้ง กลุ่มจัดการ คุณภาพน้ำ กลุ่มบรรเทาน้ำ ท่วม เชิงรับ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ 5.แผนบริหารจัดการน้ำ แผนงาน ดำเนินการได้ทันที เข้าแผนศึกษา ตัวชี้วัด เป้าหมาย เร่งด่วน (58) สั้น (59) กลาง (60-64) ยาว(65ขึ้น) ที่ตั้ง/พท.รับประโยชน์/ผลกระทบ/ผลสัมฤทธิ์/ระยะเวลา

ภัยแล้ง เพิ่ม ลด จัดการ ใช้สิ่งก่อสร้าง ไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง บริหารจัดการ Management Side ลดการสูญเสียในระบบส่งน้ำ/ บริหารบนความขาดแคลน/3R / มีกฎหมาย/ระเบียบ/ มีกลุ่มผู้ใช้น้ำ จัดการ เพิ่ม หาน้ำต้นทุนเพิ่ม Supply Side จากน้ำฝน น้ำท่า น้ำบาดาลทั้งภายในลุ่มน้ำและภายนอกลุ่มน้ำ ลดการใช้น้ำ Demand Side เปลี่ยนพืชที่ใช้น้ำน้อย ปรับวิธีการทำการเกษตร ลด มาตรการแก้ไขปัญหา ภัยแล้ง กลยุทธ์ ไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง ใช้สิ่งก่อสร้าง ฟื้นฟูป่าต้นน้ำ เพื่อให้ความชุ่มชื่น/ซับน้ำ 2. ปลูกพืชคลุมดิน เพื่อลดการกัดเซาะ/ตกตะกอน 3. จัดภาคเกษตร zoning และภาคอุตสาหกรรม เพื่อการใช้น้ำอย่างเหมาะสม 4. ปรับระบบการปลูกพืช 5. บริหารจัดการน้ำต้นทุน 6. 3R (Reuse-Reduce-Recycle) 7. พัฒนาระบบติดตาม พยากรณ์ และเตือนภัย 8. พัฒนาระบบฐานข้อมูล เพื่อบริหารจัดการน้ำ 9 ระบบติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการน้ำ 10. หน่วยงาน/องค์กร เพื่อบริหารจัดการน้ำในทุกภาคส่วน 11. บริหารจัดการเชิงนโยบาย/กฎหมาย 12. มาตรการช่วยเหลือทางการเงิน เพื่อชดเชย/เยียวยาผู้ได้รับผลกระทบ (ได้แก่ กองทุนน้ำ) 13. การประชาสัมพันธ์ การให้ความรู้ และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน พัฒนาแหล่งกักเก็บ เพื่อกักเก็บน้ำฝน/น้ำท่า (ได้แก่ ฟื้นฟูแหล่งน้ำ ขุดสระ อ่างเก็บน้ำ ปรับปรุงความจุอ่างเก็บน้ำเดิม) 2. พัฒนาโครงข่ายน้ำ จากแหล่งน้ำ แหล่งน้ำ เพื่อสร้างเสถียรภาพและความมั่นคงด้านน้ำ (ได้แก่ พัฒนาระบบอ่างพวง ผันน้ำข้ามลุ่ม) 3. พัฒนาระบบส่งน้ำ - จากแหล่งน้ำธรรมชาติ พื้นที่ที่ต้องการ - จากแหล่งน้ำที่สร้างขึ้น พื้นที่ที่ต้องการ (ได้แก่ คลองส่งน้ำ ท่อส่งน้ำ ระบบกระจายน้ำประปา) 4. ปรับปรุงประสิทธิภาพโครงการเดิม (modernization) เพื่อลดความสูญเสียและเพิ่มการใช้น้ำอย่างเต็มศักยภาพ เพิ่มความจุเก็บกักและรองรับ climate change

น้ำท่วม ไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง ใช้สิ่งก่อสร้าง ระบาย/ ผันน้ำ ป้องกัน มาตรการแก้ปัญหา เก็บกัก/ ชะลอน้ำ น้ำท่วม จัดการน้ำหลาก ระบาย/ ผันน้ำ ป้องกัน กลยุทธ์ ไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง ใช้สิ่งก่อสร้าง จัดการน้ำหลาก เพื่อกระจายน้ำหลากและเตรียมความพร้อมในการเผชิญเหตุ (ได้แก่ ปรับปรุงเกณฑ์ปฏิบัติการอ่างเก็บน้ำให้เป็นไปอย่างเหมาะสม (Rule Curve)) ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ 2. ฟื้นฟูป่าต้นน้ำ เพื่อซับน้ำ 3. ปลูกพืชคลุมดิน เพื่อชะลอน้ำ 4. ปรับระบบการปลูกพืช ให้สอดคล้องกับภูมิประเทศ สภาพอุตุและอุทกวิทยา 5. พัฒนาระบบติดตาม พยากรณ์ และเตือนภัย 6. หน่วยงาน/องค์กร เพื่อรับผิดชอบเรื่องบริหารจัดการอุทกภัยในทุกภาคส่วน 7. บริหารจัดการเชิงนโยบาย/กฎหมาย เพื่อให้มีกฎระเบียบที่ทันสมัยและมีมาตรฐาน (เช่น กฎหมายผังเมือง ) 8. มาตรการช่วยเหลือทางการเงิน เพื่อชดเชย/เยียวยาผู้ได้รับผลกระทบ (ได้แก่ กองทุนน้ำ) 9. การประชาสัมพันธ์ การให้ความรู้ และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน พัฒนาแหล่งกักเก็บเพื่อกัก-เก็บ-หน่วง-ชะลอน้ำ (ได้แก่ ฟื้นฟูแหล่งน้ำ ฝายต้นน้ำ ขุดสระ อ่างเก็บน้ำ ปรับปรุงความจุอ่างเก็บน้ำเดิม) เติมน้ำลงชั้นน้ำใต้ดิน เพื่อลดปริมาณน้ำหลาก ผันน้ำและช่องลัด เพื่อควบคุมและลดปริมาณน้ำไหลเข้าพื้นที่สำคัญ เพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำ (เช่น การปรับปรุงระบบคลองส่งน้ำและอาคารประกอบ การขุดลอกลำน้ำ สถานีสูบน้ำ และคันกั้นน้ำ ลดสิ่งกีดขวางการระบายน้ำ) พัฒนาโครงข่ายน้ำ เพื่อนำน้ำจากแหล่งน้ำที่มีมากไปยังแหล่งน้ำที่มีน้อย ระบบป้องกันน้ำท่วม เพื่อปกป้องพื้นที่สำคัญ (ได้แก่ พื้นที่ปิดล้อม) ย้าย/พัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจใหม่ (เชิงรุก) โดยวางระบบการระบายน้ำต้องได้รับการพิจารณาจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ผลักดันน้ำเพื่อรักษาคุณภาพน้ำ จัดการ 3R มีกฎหมาย/ระเบียบ/ มีกลุ่มผู้ใช้น้ำ แก้ ไล่ มาตรการแก้ไขปัญหา คุณภาพน้ำ ขับไล่ ผลักดันน้ำเพื่อรักษาคุณภาพน้ำ แก้ไขปัญหา น้ำเสีย น้ำดี กลยุทธ์ ใช้สิ่งก่อสร้าง ไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง 1. ปรับปรุงเกณฑ์การบริหารจัดการน้ำ ให้สอดคล้องกับสภาวะการรุกตัวของน้ำเค็มและการเจือจางน้ำเสีย ในแม่น้ำสายหลักที่สำคัญ 2. การติดตาม เฝ้าระวัง และเตือนภัย คุณภาพน้ำ 3. การนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ (Reuse) 4. เชื่อมโยงโครงข่ายระบบฐานข้อมูลทั้งภายในและระหว่างหน่วยงาน 5. บริหารจัดการเชิงนโยบาย/กฎหมาย เพื่อให้มีกฎระเบียบที่ทันสมัยและมีมาตรฐานด้านการควบคุมคุณภาพน้ำ 6. การประชาสัมพันธ์ การให้ความรู้ และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ปรับปรุง/พัฒนา ระบบป้องกันน้ำเค็ม เช่น อาคารบังคับน้ำปากแม่น้ำสายหลัก ในแม่น้ำเจ้าพระยา ท่าจีน บางปะกง และแม่น้ำแม่กลอง ปรับปรุง/พัฒนาระบบบำบัดน้ำเสีย - ระบบรวม - ครัวเรือน 3. พัฒนาแหล่งกักเก็บน้ำเพื่อขับไล่น้ำเสีย (ได้แก่ อ่างเก็บน้ำ)

ไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง กลยุทธ น้ำแล้ง น้ำท่วม ยุทธศาสตร์ คุณภาพน้ำ 1. บริหารจัดการน้ำต้นทุน ฟื้นฟูป่าต้นน้ำ 2. ปลูกพืชคลุมดิน 3. จัดภาคเกษตร zoning และภาคอุตสาหกรรม 4. ปรับระบบการปลูกพืช 5. บริหารจัดการน้ำต้นทุน 6. 3R 7. พัฒนาระบบติดตาม พยากรณ์ และเตือนภัย 8. พัฒนาระบบฐานข้อมูล 9 ระบบติดตามและประเมิน ผลการบริหารจัดการน้ำ 10. หน่วยงาน/องค์กร 11. บริหารจัดการเชิง นโยบาย/กฎหมาย 12. มาตรการช่วยเหลือ ทางการเงิน 13. การประชาสัมพันธ์ จัดการน้ำหลาก ฟื้นฟูป่าต้นน้ำ ปลูกพืชคลุมดิน ปรับระบบการปลูกพืช พัฒนาระบบติดตาม พยากรณ์ และเตือนภัย หน่วยงาน/องค์กร บริหารจัดการเชิงนโยบาย/กฎหมาย 8. มาตรการช่วยเหลือทางการเงิน 9. การประชาสัมพันธ์ ปรับปรุงเกณฑ์การบริหารจัดการน้ำ การติดตาม เฝ้าระวัง และเตือนภัย คุณภาพน้ำ การนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ (Reuse) เชื่อมโยงโครงข่ายระบบฐานข้อมูล บริหารจัดการเชิงนโยบาย/กฎหมาย การประชาสัมพันธ์ 2. บริหารจัดการน้ำหลาก 3. ฟื้นฟูป่าต้นน้ำ 4.ปลูกพืชคลุมดิน 5. จัดภาคเกษตร zoning และ ภาคอุตสาหกรรม 6. ปรับระบบการปลูกพืช 7. 3R 8.พัฒนาระบบติดตาม เฝ้า ระวัง พยากรณ์และเตือนภัย 9. พัฒนาและเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูล 10.ระบบติดตามผลประเมินผล การบริหารจัดการน้ำ 11. หน่วยงาน/องค์กร (อนุ4) 12. บริหารจัดการเชิงนโยบาย/กฎหมาย (อนุ4) 13. มาตรการช่วยเหลือทางการเงิน (อนุ4) 14. การประชาสัมพันธ์ (อนุ5)

ใช้สิ่งก่อสร้าง น้ำแล้ง น้ำท่วม กลยุทธ คุณภาพน้ำ พัฒนาแหล่งกักเก็บ ปรับปรุง/พัฒนา ระบบป้องกันน้ำเค็ม ปรับปรุง/พัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียรวม 3. พัฒนาแหล่งกักเก็บ พัฒนาแหล่งกักเก็บ เติมน้ำลงชั้นน้ำใต้ดิน ผันน้ำและช่องลัด เพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำ พัฒนาโครงข่ายน้ำ ระบบป้องกันน้ำท่วม 7. ย้าย/พัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจใหม่ (เชิงรุก) พัฒนาแหล่งกักเก็บ 2. พัฒนาโครงข่ายน้ำ 3. พัฒนาระบบส่งน้ำ 4. ปรับปรุงประสิทธิภาพโครงการเดิม 2. พัฒนาโครงข่ายน้ำ 3. เติมน้ำลงชั้นน้ำใต้ดิน 4. ปรับปรุง/พัฒนา ระบบป้องกันน้ำเค็ม 5. ปรับปรุง/พัฒนาระบบบำบัดน้ำเสีย 6. พัฒนาระบบส่งน้ำ 7. ปรับปรุงประสิทธิภาพโครงการเดิม 8. ผันน้ำและช่องลัด 9. เพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำ 10.ระบบป้องกันน้ำท่วม 11. ย้าย/พัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจใหม่ (อนุ4)

โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ ประเด็น “ การรับฟังสภาพปัญหาของลุ่มน้ำและแนวทางการแก้ไข เพื่อยกร่างแผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ” ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก 1.เพื่อวิเคราะห์สภาพปัญหาของลุ่มน้ำ สาเหตุและแนวทางแก้ไขปัญหาในแต่ละลุ่มน้ำ เพื่อนำมาประกอบการยกร่างแผนยุทธศาสตร์ฯ 2.เพื่อยกร่างแผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก วัตถุประสงค์ ตัวแทนคณะกรรมการลุ่มน้ำในพื้นที่ภาคเหนือ กลาง และตะวันออก กลุ่มเป้าหมาย 1.นำเสนอกรอบแนวคิดการจัดทำแผนฯ 2.แบ่งกลุ่มย่อยตามลุ่มน้ำเพื่อวิเคราะห์ปัญหา 3.ยกร่างยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาตามกลุ่มลุ่มน้ำย่อย 4.สรุปผลภาพรวมในระดับภาค วิธีการ

ลุ่มน้ำสาละวิน กก โขงเหนือ พิษณุโลก : 9 ก.ย.57 กำหนดการ เชียงราย : 8 ก.ย.57 รร.ลักษณวรรณ รีสอร์ท ลุ่มน้ำสาละวิน กก โขงเหนือ พิษณุโลก : 9 ก.ย.57 ศูนย์วัฒนธรรมภาคเหนือตอนล่าง วังจันทร์ ริเวอร์วิว มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ลุ่มน้ำปิง วัง ยม น่าน พระนครศรีอยุธยา : 10 ก.ย.57 โรงแรมวรบุรี สะแกกรัง เจ้าพระยา ท่าจีน ป่าสัก ระยอง : 12 ก.ย.57 รร.สตาร์ ลุ่มน้ำปราจีนบุรี บางปะกง โตนเลสาบ และชายฝั่งทะเลตะวันออก ประจวบคีรีขันธ์ : 11 ก.ย.57 รร.ซิตี้บีช รีสอร์ท หัวหิน ลุ่มน้ำแม่กลอง เพชรบุรี และชายฝั่งทะเลประจวบคีรีขันธ์

กำหนดการ

เนื้อหาเอกสารประกอบการประชุม