การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
Advertisements

โรงเรียนวัดเขาปิ่นทอง
การขับเคลื่อนการพัฒนากระบวนการคิด
ตามนโยบายสถานศึกษา 3 ดี
หลักสูตรโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
โครงการคุณธรรมนำความรู้
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
หลักการพัฒนา หลักสูตร
บทที่ 1 การวิจัยกับการ พัฒนางานของครู
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต 1
สัปดาห์ที่ 6 เรื่อง วิธีการดำเนินงานสุขศึกษา ในสถานที่ต่างๆ
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
มาตรฐานการศึกษา วีระ อุสาหะ.
บทสรุป หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
ดร.นิวัตต์ น้อยมณี การประเมินห้องเรียนคุณภาพ โดย
บทบาทของโรงเรียนต่อชุมชน
การประเมินผลการเรียน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
แนวคิดในการวิเคราะห์ผู้เรียนที่นิยม 5 แนวคิด
การวิเคราะห์ผู้เรียน
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
ครูโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์
ความดีเด่นของสถานศึกษา
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
แนวทางการดำเนินงาน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ในโรงเรียนเอกชน
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
กลยุทธ์ที่ 2 ปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นชาติไทย
การวัดผล (Measurement)
งานกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ประวัติการศึกษาไทย.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
หมายเหตุ : หน้าแรกแล้วแต่ท่านจะออกแบบนะครับ
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
ปัญหาทางการศึกษา อุปสรรคทางการศึกษาของโรงเรียนบ้านดอนกลาง
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
การรายงานกิจกรรมการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
ผู้วิจัย นางสาวจันทรา แซ่หลิม สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
บทบาทสมมติ (Role Playing)
BEST PRATICES การจัดการเรียนรู้ระดับปฐมวัยที่ดี “ อนุบาลน้อย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
มีคุณธรรม นำวิชาการ สู่มาตรฐานสากล
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ระบบการ ดำเนินการใน โรงเรียน 1. ระบบบริหารจัดการ 2. ระบบการเรียนการสอน 3. ระบบการวัดผลประเมินผล 4. ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 5. ระบบงานกิจกรรมนักเรียน.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
นางสาวสุฑารัตน์ ตั้งถาวร โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ในแผนกการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ปีการศึกษา 2555

หลักสูตรประวัติศาสตร์ท้องถิ่น จำรัส เพชรทับ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การแก้ปัญหานักเรียนขาดการกระตือรือร้นในการเรียนภาคปฏิบัติ วิชางานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้นของนักเรียนชั้น ปวช.1/1 ช่างยนต์ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ การพัฒนาศักยภาพด้านการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Desirable characteristic assessment) สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หน่วยที่ 1 ความสำคัญของ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Desirable characteristic) คุณลักษณะที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน อันเป็นคุณลักษณะที่สังคมต้องการครอบคลุมถึงด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม จิตสำนึก ที่ต้องการปลูกฝังให้กับผู้เรียนให้ติดเป็นนิสัยจนเป็นวิถีชีวิตหรือบุคลิกภาพ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ทั้งในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก (หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551)

ธรรมชาติของการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์เป็นการวัดทางอ้อม ไม่สามารถวัดได้โดยตรงจากประสาทสัมผัสทั้ง 5 การประเมินมีความคลาดเคลื่อนได้ง่ายเนื่องจากอารมณ์หรือความรู้สึกอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามสถานการณ์หรือเงื่อนไข การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไม่มีถูก-ผิด แหล่งข้อมูลในการประเมินสามารถวัดได้จากหลายฝ่าย การประเมินต้องใช้สถานการณ์จำลองเป็นเงื่อนไขให้ผู้ถูกวัดตอบข้อคำถาม

ความสำคัญของการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ความสำคัญต่อครู ช่วยให้ทราบเกี่ยวกับพฤติกรรมเบื้องต้นของนักเรียน ครูก็จะรู้ว่า นักเรียนแต่ละคนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์อยู่ในระดับใด เพื่อจัดกิจกรรมพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ต้องการ ความสำคัญต่อการแนะแนว ช่วยให้แนะแนวทางในการประพฤติ ปฏิบัติตนในทางที่เหมาะสม ตลอดจนช่วยให้สามารถแก้ปัญหาทางจิตวิทยา อารมณ์สังคมและบุคลิกภาพต่างๆของนักเรียน

ความสำคัญของการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ความสำคัญต่อการบริหาร ช่วยในการวางแผนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน กิจกรรมของโรงเรียน ตลอดจนการบริหารโรงเรียน ช่วยให้ทราบว่าปีต่อไปจะวางแผนงานโรงเรียนอย่างไร เช่นการส่งเสริมเด็กที่ประพฤติดีการปรับปรุงกิจกรรมของโรงเรียนให้ดีขึ้น ความสำคัญต่อผู้ปกครอง ช่วยให้ทราบว่าเด็กในปกครองของตนนั้นมีความเจริญงอกงามเป็นอย่างไร เพื่อเตรียมการส่งเสริมความประพฤติของนักเรียน ตลอดจนพฤติกรรมของเด็ก

ความสำคัญของการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ความสำคัญต่อการวิจัย ช่วยวินิจฉัยข้อบกพร่องในการบริหารงานของโรงเรียนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูและข้อบกพร่องของนักเรียน นอกจากนี้ยังนำไปสู่การวิจัยในชั้นเรียนหรือการวิจัยเชิงทดลองต่าง ๆ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษามาก

ขั้นตอนของการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาแนวคิดทฤษฏี หลักการที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนที่ 3 ศึกษาแนวปฏิบัติในการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ขั้นตอนที่ 4 ศึกษาข้อมูลพื้นฐานของผู้เรียนก่อนการพัฒนา ขั้นตอนที่ 5 สร้างหรือเลือกเครื่องมือที่เหมาะสม/สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนา ขั้นตอนที่ 6 ดำเนินการพัฒนาผู้เรียนตามแนวทางที่กำหนดไว้และประเมิน เป็นระยะ ๆ ขั้นตอนที่ 7 รายงานผลการพัฒนาต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง