P1 การศึกษาการใช้อินเวอร์เตอร์เพื่อประหยัดพลังงานไฟฟ้าและควบคุมแรงดันน้ำ ในงานประปาและสุขาภิบาลกองอาคารและสถานที่ สำนักงานอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดย กฤษ เฉยไสย จตุพร บุญนคร ประยงค์ เสาร์แก้ว ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยขอนแก่น
รูปที่1ก. การควบคุมปริมาณน้ำโดยใช้ประตูน้ำ P2 บทนำ รูปที่1ก. การควบคุมปริมาณน้ำโดยใช้ประตูน้ำ รูปที่1ข. การควบคุมปริมาณน้ำโดยใช้อินเวอร์เตอร์
P3 หลักการประหยัดพลังงานโดยใช้อินเวอร์เตอร์ - การลดพลังงานไฟฟ้าโดยการลดความเร็วรอบ (1) และ (2) (3) (4)
P4 สรุปจากการคำนวณข้างต้นพลังงานที่ใช้จะลดลงเหลื่อเพียง 32.8% หรือพูดอีกอย่างหนึ่งว่าสามารถลดพลังงานลงได้ถึง 67.2 %
รูปที่2 วงจรหลักอินเวอร์เตอร์ P5 หลักการทำงานของอินเวอร์เตอร์ รูปที่2 วงจรหลักอินเวอร์เตอร์
P6 ผลการ simulation 0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1 0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1 Time (s) Time (s) รูปที่3ก กราฟความเร็วรอบของมอเตอร์ที่ไม่ใช้อินเวอร์เตอร์ รูปที่3ข กราฟความเร็วรอบของมอเตอร์ที่ใช้อินเวอร์เตอร์
P7 รูปที่4ก กระแสเฟสของมอเตอร์ก่อน รูปที่4ข กระแสเฟสของมอเตอร์หลัง ติดตั้งอินเวอร์เตอร์ รูปที่4ข กระแสเฟสของมอเตอร์หลัง ติดตั้งอินเวอร์เตอร์
P8 รูปที่5ก Average power and Reactive power ของมอเตอร์ก่อนติดตั้งอินเวอร์เตอร์ รูปที่5ข Average power and Reactive power ของมอเตอร์หลังติดตั้งอินเวอร์เตอร์
การนำผลคำนวณมาประยุกต์ใช้กับงานประปา P9 การนำผลคำนวณมาประยุกต์ใช้กับงานประปา รูปที่6 การใช้อินเวอร์เตอร์เพื่อลดการใช้พลังงานไฟฟ้าช่วงกลางวันของมอเตอร์ขนาด100แรงม้า (7พ.ค.48)
P10 รูปที่7 การใช้อินเวอร์เตอร์เพื่อลดการใช้พลังงานไฟฟ้าช่วงกลางคืนมอเตอร์ขนาด75แรงม้า (7พ.ค.48)
P11 รูปที่8ก รูปกราฟแสดงการใช้พลังงาน ไฟฟ้าของงานประปาก่อนติดตั้งอินเวอร์เตอร์ รูปที่8ข รูปกราฟแสดงการใช้พลังงาน ไฟฟ้าของงานประปาหลังติดตั้งอินเวอร์เตอร์
P12 สรุป ก่อนการติดตั้งอินเวอร์เตอร์จะต้องจ่ายค่าไฟฟ้าปีละประมาณ 1,200,000 บาททำให้เสียค่างบประมาณเป็นจำนวนมาก เมื่อทำการติดตั้งอินเวอร์เตอร์แล้วจะจ่ายค่าไฟฟ้าเพียงปีละ 393,600บาททำให้สามารถประหยัดงบประมาณได้ถึงปีละ 806,400 บาทต่อปี ดังนั้นจึงสมควรอย่างยิ่งที่จะติดตั้งระบบควบคุมโดยใช้อินเวอร์เตอร์ เพื่อลดการใช้พลังงานและค่าไฟฟ้า
P13 ขอบคุณครับ Thank you