บุคลากรสาธารณสุขทุกท่าน สู่มาตรฐานงานสุขศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การชี้แนะสาธารณะด้านสุขภาพ (HEALTH ADVOCACY)
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
แนวทางการการดำเนินงานปี 2551
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
HPC 11 กรอบแนวทางการดำเนินงาน นโยบายกรมอนามัย ศูนย์อนามัยที่ 11 ปีงบประมาณ 2553 กลุ่มยุทธศาสตร์ 31 กค. 52.
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
HA 2011 overall scoring และการนำไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพรพ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ รากฐาน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
แนวทางการดำเนินงาน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ในโรงเรียนเอกชน
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
แนวทางการพัฒนาคลินิก DPAC
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กรอบการพัฒนาตัวชี้วัด
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผู้เยี่ยมประเมินมาตรฐานงาน สุขศึกษา ที่มีคุณค่า
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
และการนำไปใช้ประโยชน์
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
การปรับพฤติกรรมสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บุคลากรสาธารณสุขทุกท่าน สู่มาตรฐานงานสุขศึกษา ยินดีต้อนรับ บุคลากรสาธารณสุขทุกท่าน สู่มาตรฐานงานสุขศึกษา

นโยบายการพัฒนามาตรฐาน งานสุขศึกษาของสถานบริการสาธารณสุข โดย นพ.ยอร์น จิระนคร นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดพัทลุง 25/7/49

สุขศึกษา = กระบวนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ การพัฒนาทักษะด้านสุขภาพ รวมทั้งการพัฒนาปัจจัยแวดล้อมอื่น ๆ ที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชน การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ = กระบวนการปลูกฝัง/ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ => พฤติกรรมสุขภาพที่ พึงประสงค์ เพื่อเกิดผลดีต่อสุขภาพ

Health education Is any combination of learning experiences designed to facilitate voluntary actions conductive to health.

Combination emphasizes the importance of matching the multiple determinants of behavior with multiple learning experiences or educational interventions. Designed distinguishes health education from incidental learning experiences as a systematically planned activity. Facilitate means predispose,enable,and reionforce.

Voluntary means without coercion and with the full understanding and acceptance of the purpose of the action. Action means behavioral steps taken by an individual, group, or community to achieve an intended health effect.

ความรู้พื้นฐาน: มาตรฐานงานสุขศึกษา: H.Ed.A สุขศึกษา <-> การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เน้นให้สถานบริการทุกระดับ (1o2o3o) มีการทบทวนและปรับปรุงระบบบริการ “พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ” ให้มี คุณภาพโดยมองทั้งมาตรฐานเชิงระบบ กระบวนการ และวิชาชีพ =>พฤติกรรมสุขภาพและสุขภาพดีของประชาชน ผลลัพธ์ = ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ มีการเรียนรู้ มีทักษะด้านสุขภาพ และอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อฯ => พฤติกรรมพึงประสงค์ และสุขภาพดี

สถานบริการสาธารณสุข ต้องจัดกิจกรรมบริการ ดังนี้ 1. จัดให้สถานบริการสาธารณสุขเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ ด้านสุขภาพ 2. มีการจัดกิจกรรมสุขศึกษา เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการ เรียนรู้ และ พัฒนาทักษะด้านสุขภาพ ซึ่งจะนำไปสู่การ มีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ทั้งระดับ บุคคล ครอบครัว และชุมชน 3. เป็นศูนย์กลางข่าวสารความรู้ด้านสุขภาพที่ถูกต้อง 4. มีการดูแลพฤติกรรมพื้นฐานในครอบครัว

มาตรฐานงานสุขศึกษา คือ สิ่งที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นกรอบในการดำเนินงานและวัดความสำเร็จของงานสุขศึกษา ซึ่งประกอบด้วย 9 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 นโยบายการดำเนินงานสุขศึกษา และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 2 ทรัพยากรการดำเนินงานสุขศึกษา

องค์ประกอบที่ 3 การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ ด้านการดำเนินงานสุขศึกษา องค์ประกอบที่ 4 แผนการดำเนินงานสุขศึกษาและ พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 5 กิจกรรมสุขศึกษาและพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 6 การนิเทศงานสุขศึกษาและพัฒนา

องค์ประกอบที่ 7 การประเมินผลการดำเนินงาน สุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 8 การเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 9 การวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสุขศึกษาและ พฤติกรรมสุขภาพ

ความเชื่อมโยงขององค์ประกอบมาตรฐานงานสุขศึกษา ทั้ง 9 องค์ประกอบ นโยบายการดำเนินงานสุขศึกษาและการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ หน่วย งานนอกระบบบริการสาธา รณสุข กลยุทธ์หรือแนวทาง การพัฒนางานสุขศึกษา การเฝ้าระวัง ระบบข้อมูล การวิจัย แผนงานโครงการ การดำเนินกิจกรรมสุขศึกษาตาม แผนงาน/โครงการ - ทรัพยากร - บุคลากร -งบประมาณ การนิเทศงาน การประเมินความสำเร็จของแผนงานโครงการ

นโยบายการสร้างสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข มาตรการ/กลวิธีและเป้าหมาย มาตรการ/กลวิธีและเป้าหมาย มาตรการ/กลวิธีและเป้าหมาย มาตรการ/กลวิธีและเป้าหมาย พิจารณามาตรการ/กลวิธี ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ กำหนดเป็นนโยบายการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของ CUP จัดทำเป็นแผนปฏิบัติและโครงการ การดำเนินงานที่เป็นรูปธรรม

สวัสดี