บุคลากรสาธารณสุขทุกท่าน สู่มาตรฐานงานสุขศึกษา ยินดีต้อนรับ บุคลากรสาธารณสุขทุกท่าน สู่มาตรฐานงานสุขศึกษา
นโยบายการพัฒนามาตรฐาน งานสุขศึกษาของสถานบริการสาธารณสุข โดย นพ.ยอร์น จิระนคร นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดพัทลุง 25/7/49
สุขศึกษา = กระบวนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ การพัฒนาทักษะด้านสุขภาพ รวมทั้งการพัฒนาปัจจัยแวดล้อมอื่น ๆ ที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชน การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ = กระบวนการปลูกฝัง/ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ => พฤติกรรมสุขภาพที่ พึงประสงค์ เพื่อเกิดผลดีต่อสุขภาพ
Health education Is any combination of learning experiences designed to facilitate voluntary actions conductive to health.
Combination emphasizes the importance of matching the multiple determinants of behavior with multiple learning experiences or educational interventions. Designed distinguishes health education from incidental learning experiences as a systematically planned activity. Facilitate means predispose,enable,and reionforce.
Voluntary means without coercion and with the full understanding and acceptance of the purpose of the action. Action means behavioral steps taken by an individual, group, or community to achieve an intended health effect.
ความรู้พื้นฐาน: มาตรฐานงานสุขศึกษา: H.Ed.A สุขศึกษา <-> การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เน้นให้สถานบริการทุกระดับ (1o2o3o) มีการทบทวนและปรับปรุงระบบบริการ “พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ” ให้มี คุณภาพโดยมองทั้งมาตรฐานเชิงระบบ กระบวนการ และวิชาชีพ =>พฤติกรรมสุขภาพและสุขภาพดีของประชาชน ผลลัพธ์ = ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ มีการเรียนรู้ มีทักษะด้านสุขภาพ และอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อฯ => พฤติกรรมพึงประสงค์ และสุขภาพดี
สถานบริการสาธารณสุข ต้องจัดกิจกรรมบริการ ดังนี้ 1. จัดให้สถานบริการสาธารณสุขเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ ด้านสุขภาพ 2. มีการจัดกิจกรรมสุขศึกษา เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการ เรียนรู้ และ พัฒนาทักษะด้านสุขภาพ ซึ่งจะนำไปสู่การ มีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ทั้งระดับ บุคคล ครอบครัว และชุมชน 3. เป็นศูนย์กลางข่าวสารความรู้ด้านสุขภาพที่ถูกต้อง 4. มีการดูแลพฤติกรรมพื้นฐานในครอบครัว
มาตรฐานงานสุขศึกษา คือ สิ่งที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นกรอบในการดำเนินงานและวัดความสำเร็จของงานสุขศึกษา ซึ่งประกอบด้วย 9 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 นโยบายการดำเนินงานสุขศึกษา และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 2 ทรัพยากรการดำเนินงานสุขศึกษา
องค์ประกอบที่ 3 การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ ด้านการดำเนินงานสุขศึกษา องค์ประกอบที่ 4 แผนการดำเนินงานสุขศึกษาและ พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 5 กิจกรรมสุขศึกษาและพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 6 การนิเทศงานสุขศึกษาและพัฒนา
องค์ประกอบที่ 7 การประเมินผลการดำเนินงาน สุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 8 การเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 9 การวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสุขศึกษาและ พฤติกรรมสุขภาพ
ความเชื่อมโยงขององค์ประกอบมาตรฐานงานสุขศึกษา ทั้ง 9 องค์ประกอบ นโยบายการดำเนินงานสุขศึกษาและการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ หน่วย งานนอกระบบบริการสาธา รณสุข กลยุทธ์หรือแนวทาง การพัฒนางานสุขศึกษา การเฝ้าระวัง ระบบข้อมูล การวิจัย แผนงานโครงการ การดำเนินกิจกรรมสุขศึกษาตาม แผนงาน/โครงการ - ทรัพยากร - บุคลากร -งบประมาณ การนิเทศงาน การประเมินความสำเร็จของแผนงานโครงการ
นโยบายการสร้างสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข มาตรการ/กลวิธีและเป้าหมาย มาตรการ/กลวิธีและเป้าหมาย มาตรการ/กลวิธีและเป้าหมาย มาตรการ/กลวิธีและเป้าหมาย พิจารณามาตรการ/กลวิธี ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ กำหนดเป็นนโยบายการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของ CUP จัดทำเป็นแผนปฏิบัติและโครงการ การดำเนินงานที่เป็นรูปธรรม
สวัสดี