รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ คำกล่าวนำและบทบาทหน้าที่ของความร่วมมือและความคาดหวังที่จะเกิดขึ้น ในการประชุมเผยแพร่และผลักดันนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ (พ.ศ. 2551-2554) สู่การปฏิบัติ : ภาคกลาง และรวมพลังวิจัยเพื่อพัฒนาชาติ : ภาคกลาง โดย นางกาญจนา ปานข่อยงาม รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ รักษาราชการแทน เลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ วันจันทร์ที่ 15 มีนาคม 2553 ณ ห้องประชุมกำพล อดุลวิทย์ ตึก 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน
วช. มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ จังหวัด/อบจ. ในภาคกลาง
วัตถุประสงค์ของการประชุม รวมพลังเพื่อระดมความคิดเพื่อให้ได้มา ซึ่งนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย (พ.ศ. 2555-2559) แบบมีส่วนร่วมของภาคกลาง เผยแพร่ ผลักดันนโยบาย และยุทธศาสตร์การวิจัย ของชาติ (พ.ศ. 2551-2554) ให้ไปสู่การปฏิบัติ เสริมสร้างความร่วมมือของหน่วยงานวิจัย เพื่อขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ
ความเป็นมาและบทบาทหน้าที่ หน้าที่ตามพระราชบัญญัติสภาวิจัยแห่งชาติ และมติ ครม. 25 ก.ค. 21 ยุทธศาสตร์การวิจัยระดับภูมิภาค 4 ภาค นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ (พ.ศ. 2551-2553) นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ (พ.ศ. 2551-2554) ผลักดัน บริหาร ขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติในภูมิภาคและท้องถิ่น
แผนแม่บทการวิจัย ของชาติ นโยบายและ แผนแม่บทการวิจัย ของชาติ นโยบายและแนวทาง การวิจัยของชาติ ระยะยาว พ.ศ.2552-2571 นโยบายระยะยาว กรอบแนวทาง ประเด็นวิจัย การบริหารจัดการ การติดตามประเมิน นโยบายรัฐบาล ความต้องการท้องถิ่น ยุทธศาสตร์งบประมาณ แนวทางแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ พ.ศ.2555-2559 การปฏิรูประบบวิจัยของประเทศ การมีส่วนร่วม กลไกการขับเคลื่อนและสนับสนุน การบริหารจัดการ : วช. ภูมิภาค การติดตามประเมินผล นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ พ.ศ.2551-2554
การลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการพัฒนาท้องถิ่นโดยใช้ฐาน องค์ความรู้จากการวิจัยตามนโยบายและแผนแม่บทการวิจัยของชาติ การประยุกต์ใช้การวิจัยแบบมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ที่สมดุลและยั่งยืน รวมพลังเพื่อบูรณาการยุทธศาสตร์การพัฒนากับยุทธศาสตร์การวิจัย ให้ไปสู่การปฏิบัติในภูมิภาค แผนงานวิจัย/โครงการวิจัยเป้าหมายที่สนับสนุนการพัฒนาจังหวัด โดยสอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ (พ.ศ. 2551-2554) และนโยบายการวิจัยของชาติระยะยาว (พ.ศ. 2552-2571)
ความสำคัญของการวิจัย สร้างนวัตกรรม สังคมแห่งภูมิปัญญา และการเรียนรู้ ขีดความสามารถ ในการแข่งขัน โครงสร้างเศรษฐกิจ ที่สมดุลยั่งยืน พัฒนาประเทศยั่งยืน
นโยบายและแผนแม่บทการวิจัย ของชาติที่เป็นเอกภาพ มติ ครม. 27 พ.ย. 50 นโยบายและแผนแม่บทการวิจัย ของชาติที่เป็นเอกภาพ การปฏิรูประบบวิจัยของประเทศ วช. เป็นองค์กร กลาง นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย ของชาติ (พ.ศ. 2555-2559) สถานการณ์และ:ศักยภาพของประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 1 : ความร่วมมือระหว่าง รัฐ ประชาชน เอกชน เพื่อพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยแบบมี ส่วนร่วม ส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ความต้องการ พื้นที่ ผู้ใช้ประโยชน์ ยุทธศาสตร์การวิจัย 4 ภาค แผนพัฒนาฯ ฉบับ 11
ยุทธศาสตร์การปฏิรูประบบวิจัยที่ 2 : การขับเคลื่อน นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยสู่การปฏิบัติ ประชุมกำหนดกลไกการบริหารและขับเคลื่อนนโยบาย และยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ (พ.ศ. 2551-2554) สู่การปฏิบัติ แบบมีส่วนร่วม 4 ภูมิภาค
ระบบการบริหารเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์ มติ ครม. 27 พ.ย. 50 ระบบการบริหารเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์ การวิจัยของชาติ ที่เชื่อมโยงต่อเนื่อง ปฏิรูประบบบริหารการวิจัยภาคีเครือข่าย ในระดับภูมิภาค (วช. ภูมิภาค หรือ วช. เสมือน) หน้าที่ ประสาน บริหารจัดการนโยบายและยุทธศาสตร์ การวิจัยของชาติที่เชื่อมโยงระหว่างภูมิภาคและส่วนกลาง อย่างมีส่วนร่วม มีเอกภาพ และประสิทธิภาพ
ขอบคุณค่ะ