การประชุมวิชาการ การดูแลผู้ป่วยไตเรื้อรัง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
Reversal of Vitamin-K Antagonists
การดูแลระยะตั้งครรภ์
CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สถานการณ์โรคไตเรื้อรัง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
กายภาพบำบัด ในผู้ป่วยภาวะวิกฤต รศ.สมชาย รัตนทองคำ
ข้อมูลสุขภาพ 21,43 แฟ้ม: การจัดการเพื่อใช้ประโยชน์
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยตามเกณฑ์ สกว.
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
Welcome to Food for Health.
Protein.
ภาวะแทรกซ้อนของการรักษาผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ที่ได้รับการรักษาโดยวิธีทดแทนไต ในโรงพยาบาลพุทธ- ชินราช ในช่วงปี ม.ค ธ.ค 2544 Complications.
PNEUMONIA UNDER FIVE YEAR IN BUDDHACHINARAJ HOSPITAL
OBJECTIVE To study the relationship between signs , symptoms or history of disease and routine urinalysis.
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
ข้อเท็จจริงที่ควรรู้
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
นักวิชาการสาธารณสุข 9 กรมอนามัย
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะนิวโทรฟีเนีย
Part II - พลังงานจากสารอาหาร
New drugs treatment of type 2 DM
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
แนวทางการปฏิบัติ การจัดการน้ำหนักและรอบเอว
ทำไมต้องนมแม่ วาสนา งามการ.
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
Medication Review.
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม โรงพยาบาลน่าน
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การประเมินภาวะโภชนาการ ในผู้ที่เป็นเบาหวาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
Cancer in Thailand Cancer in Thailand 2003.
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6
นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6
Waiting time (OPD) ตามมาตรฐานงานเภสัชกรรมโรงพยาบาล
นโยบายและยุทธศาสตร์ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
- กลุ่มโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน Acute coronary syndrome (ACS)
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลการดำเนินงาน และผลงานเด่น/ นวัตกรรม SP สาขาโรคไต
1.CKD clinic : คลินิกชะลอไตเสื่อม
GDM and Cervical cancer screening
สรุปผลการใช้งบประมาณ 1 Unit 1 Project HP ประจำปีงบประมาณ 2553
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
โภชนาการ สำหรับผู้ป่วยโรคเก๊าท์
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพจังหวัดปทุมธานี
นพ.ธนชัย พนาพุฒิ อายุรแพทย์โรคไต รพ.ขอนแก่น 14 พย. 2557
โรคเบาหวาน ภ.
เอกสารประกอบการประชุม “โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลและป้องกันโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง” รุ่งรักษ์ ภิรมย์ลาภ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
ภญ. นีลนาถ เจ๊ะยอ รพ. หนองจิก จ. ปัตตานี. ที่มาของ การพัฒนา.
สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดปทุมธานี
รายงานการประเมินตนเอง 4.3 ช. การดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ผศ.นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
Diabetes mellitus By kraisorn inphiban.
Model development of TB active case finding in people with diabetes.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมวิชาการ การดูแลผู้ป่วยไตเรื้อรัง “การดูแลภาวะทุพโภชนาการ ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง” ห้องประชุมธนากโร โรงพยาบาลสกลนคร วันที่ 16 พฤศจิกายน 2555

Malnutrition in CKD patients

Introduction High prevalence of malnutrition exists in patients with CKD. Several surveys have reported protein-calorie malnutrition in up to 40% of CKD pts. Risk for malnutrition increases as CKD progresses. Malnutrition in CKD is multifactors. Surveys consistently report inadequate oral intake >>>major contributing factor. Ann Rev Nutr, 2001;21: 343-79

Nutritional Challenges in CKD Undernourished patients with ESRD Significantly increased morbidity : 27% - 43% increased risk for stroke Independently associated with increased mortality. -Results in more & longer hospitalizations & higher health care costs. Negatively affects functioning & quality of life

Serum albumin concentration and survival in patients with nondialysis-dependent CKD Am. J. Clin. Nutr. 90, 407–414 (2009).

Protein-Energy Malnutrition (PEM) a lack of adequate energy or protein supply that meets the metabolic demands placed on the body by one or more of the following: • inadequate protein intake from dietary sources • ingestion of poor quality protein • increased demands resulting from disease • increased loss of nutrients

CKD..influence on nutritional status?

Uremic malnutrition Poor nutritional status in CKD..caused by insufficient dietary intake metabolic disturbances Semin Nephrol 2006;26:134-157

Causes of undernutrition in patients with CKD Uremic syndrome leads to undernutrition Reduced oral intake Restrictive dietary regimen Uraemic toxicity Microinflammation (MIA syndrome) Metabolic acidosis Endocrine factors (insulin resistance, hyperparathyroidism, elevated plasma leptin, etc.) Gastrointestinal factors (gastroplegia, impaired absorption, etc.)

Does CKD have an influence on GI tract? Nearly all GI functions, mainly gastric emptying, can be compromised in CKD patients. Gastroparesis most pronounced in patients with diabetic nephropathy.

Diagnostic criteria for PEW and enteral nutrition in patients with CKD

การใช้สารอาหารทางการแพทย์ ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ข้อแนะนำในการให้สารอาหารทางการแพทย์ที่จำเป็นสำหรับผู้ป่วยผู้ใหญ่โรคไต พ.ศ. 2553

ข้อแนะนำข้อที่ 11 การให้สารอาหารฯในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง 11.1 ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 1-2 ควรได้รับอาหารที่มีปริมาณโปรตีนและพลังงานไม่แตกต่างจากคนปกติ คือ ได้รับพลังงานจากอาหารในปริมาณ 30-35 กิโลแคลอรี/น้ำหนักตัว1 กก./วัน และโปรตีนจากอาหารประมาณ 0.8-1.0 กรัม /น้ำหนักตัว1 กก./วัน

ข้อแนะนำข้อที่ 11 การให้สารอาหารฯในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง 11.2 ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3 (eGFR = 30–59 มล./นาที/1.73 ตร.ม.) • ควรได้รับพลังงานจากอาหารในปริมาณ 30-35 กิโลแคลอรี/น้ำหนักตัว 1 กก./วัน • ควรรับประทานอาหารที่มีโปรตีนในปริมาณ 0.6-0.8 กรัม/น้ำหนักตัว 1 กก./วัน ซึ่งอย่างน้อยร้อยละ 50 ของปริมาณโปรตีนที่บริโภคควรเป็นโปรตีนคุณภาพสูง และควรได้รับการแก้ไขภาวะเลือดเป็นกรดก่อนได้รับการจำกัดอาหารโปรตีน

ข้อแนะนำข้อที่ 11 การให้สารอาหารฯในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง 11.2 ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3 (eGFR = 30–59 มล./นาที/1.73 ตร.ม.) • ถ้าผู้ป่วยรับประทานอาหารโปรตีนต่ำ โดยได้รับโปรตีนเพียง0.3-0.6 กรัม/น้ำหนักตัว 1 กก./วัน เพื่อชะลอการเสื่อมของไต(Slow progression of CKD) อาจพิจารณาให้ผู้ป่วยรับประทานketoamino acids หรือ essential amino acids เพื่อป้องกันภาวะขาดโปรตีน แต่ไม่แนะนำให้กรดอะมิโนเสริมในรายที่ได้รั้บอาหารโปรตีนมากกว่า 0.6 กรัม/น้ำหนักตัว 1 กก./วัน

ข้อแนะนำข้อที่ 11 การให้สารอาหารฯในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง 11.3 ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 4-5 (eGFR < 30 มล./นาที/1.73 ตร.ม.) • ควรได้รับพลังงานจากอาหารในปริมาณ 30-35 กิโลแคลอรี/น้ำหนักตัว1 กก./วัน • ควรรับประทานอาหารที่มีโปรตีนในปริมาณ 0.6 กรัม/น้ำหนักตัว1 กก./วัน ซึ่งอย่างน้อยร้อยละ 50 ของปริมาณโปรตีนที่บริโภค ควรเป็นโปรตีนคุณภาพสูง และควรได้รับการแก้ไขภาวะเลือดเป็นกรดก่อนได้รับการจำกัดอาหารโปรตีน

ข้อแนะนำข้อที่ 11 การให้สารอาหารฯในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง 11.3 ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 4-5 (eGFR < 30 มล./นาที/1.73 ตร.ม.) • ถ้าผู้ป่วยรับประทานอาหารโปรตีนต่ำ โดยได้รับโปรตีนเพียง 0.3-0.4 กรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม/วัน ควรพิจารณาให้ผู้ป่วยรับประทาน ketoamino acids หรือ essential amino acids เพื่อป้องกันภาวะขาดโปรตีนและช่วยชะลอการเสื่อมของไต อนึ่งไม่แนะนำให้กรดอะมิโนเสริมในรายที่สามารถรับประทานอาหารโปรตีนตั้งแต่ 0.6 กรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม/วัน ขึ้นไป

ข้อแนะนำข้อที่ 11 การให้สารอาหารฯในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง 11.4 ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 5 (eGFR < 15 มล./นาที/1.73 ตร.ม.)กรณีที่ยังไม่ได้รับการบำบัดทดแทนไต • ควรได้รับพลังงานจากอาหารในปริมาณ 30-35 กิโลแคลอรี/น้ำหนักตัว 1 กก./วัน • ควรรับประทานอาหารที่มีโปรตีนในปริมาณ 0.6 กรัม/น้ำหนักตัว1 กก./วัน ซึ่งควรเป็นโปรตีนคุณภาพสูงอย่างน้อยร้อยละ 50 ของปริมาณโปรตีนที่บริโภค และควรได้รับการแก้ไขภาวะเลือดเป็นกรดก่อนได้รับการจำกัดอาหารโปรตีน • กรณีที่ผู้ป่วยรับประทานอาหารโปรตีนต่ำมาก โดยได้รับเพียง0.3-0.4 กรัม/น้ำหนักตัว 1 กก./วัน ควรพิจารณาให้ได้รับketoamino acids เพื่อป้องกันภาวะขาดโปรตีน และป้องกันการสะสมของยูเรีย