การทำงานของคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย ด.ญ. โมโม นาคดี โรงเรียนเทศบาล ๕ ( วัดหาดใหญ่ ) ถัดไป
การทำงานของคอมพิวเตอร์ หน่วยประมวลผล หน่วยรับข้อมูล รูปภาพหน่วยรับข้อมูล รูปภาพหน่วยประมวลผล รูปภาพหน่วยแสดงผล หน่วยความจำ หน่วยแสดงผล รูปภาพหน่วยความจำ ย้อนกลับ ถัดไป
การทำงานของคอมพิวเตอร์ หน่วยรับข้อมูล หน่วยรับข้อมูล ทำหน้าที่รับคำสั่งจากอุปกรณ์ต่าง ๆ ส่งเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ ย้อนกลับ ถัดไป
การทำงานของคอมพิวเตอร์ หน่วยรับข้อมูล ย้อนกลับภาพนิ่ง 3 ถัดไป
การทำงานของคอมพิวเตอร์ หน่วยประมวลผล หน่วยประมวลผล หน่วยประมวลผล นิยมเรียกว่า ซีพียู ซึ่งย่อมาจาก Central Processing Unit : CPU บางครั้งเรียกว่า โปรเซสเชอร์ มีหน่วยการทำงานที่สำคัญ 2 ส่วน คือ หน่วยคำนวณและตรรกะ หน่วยคำนวณและตรรกะ ทำหน้าที่ ใน การคิดคำนวณทางคณิตศาสตร์ และเปรียบเทียบทางตรรกะของข้อมูล หน่วยควบคุม หน่วยควบคุม ทำหน้าที่ประสานงาน และ ควบคุม การทำงานของคอมพิวเตอร์ โดยจะทำงานประสานกับหน่วยความจำหลัก และหน่วยคำนวณและตรรกะ หน่วยควบคุม ทำหน้าที่ประสานงาน และ ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ โดยจะทำงานประสานกับหน่วยความจำหลัก และหน่วยคำนวณและตรรกะ ย้อนกลับภาพนิ่ง 5 ถัดไป
การทำงานของคอมพิวเตอร์ หน่วยประมวลผล ย้อนกลับ ถัดไป
การทำงานของคอมพิวเตอร์ หน่วยแสดงผล หน่วยแสดงผล คือ ส่วนที่แสดงข้อมูล เป็นตัวกลางของการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กับคน โดยรับข้อมูลที่ประมวลผลแล้ว จากนั้นจึงแสดงผลในรูปแบบต่าง ๆ โดยอาศัยอุปกรณ์แสดงผล อาจแสดงให้เห็นให้ได้ยินเสียง หรือบางครั้ง ก็สามารถสัมผัสได้ ย้อนกลับภาพนิ่ง 6 ถัดไป
การทำงานของคอมพิวเตอร์ หน่วยแสดงผล ย้อนกลับ ถัดไป
การทำงานของคอมพิวเตอร์ หน่วยความจำ หน่วยความจำ (Memory Unit) ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่งที่ส่งมาจากหน่วยรับข้อมูล เพื่อเตรียมส่งไปประมวลผลยังหน่วยประมวลผลกลาง และเก็บผลลัพธ์ที่ได้มาจากการประมวลผลแล้ว เพื่อเตรียม ส่งไปยังหน่วยแสดงผล เป็นหน่วยจัดเก็บข้อมูลที่ทำงานได้รวดเร็วที่สุด ซึ่งสามารถจำแนก ตามลักษณะการใช้งานได้ 2 ประเภท คือ ย้อนกลับภาพนิ่ง 9 ถัดไป
การทำงานของคอมพิวเตอร์ หน่วยความจำ 1) หน่วยความจำหลัก (Main Memory) หรือเรียกว่า หน่วยความจำภายใน (Internal Memory)สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ รอม (Read Only Memory - ROM) เป็นหน่วยความจำที่มีโปรแกรมหรือข้อมูลอยู่แล้ว สามารถเรียกออกมาใช้งานได้แต่จะไม่สามารถเขียนเพิ่มเติมได้ และแม้ว่าจะไม่มีกระแสไฟฟ้าไปเลี้ยงให้แก่ระบบข้อมูลก็ไม่สูญสูญหายไป หายไป แรม (Random Access Memory)เป็นหน่วยความจำที่สามารถเก็บข้อมูลได้เมื่อมีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงเท่านั้น เมื่อใดไม่มีกระแสไฟฟ้ามาเลี้ยงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำชนิดนี้จะหายไปทันที 2) หน่วยความจำรอง (Second Memory) หรือหน่วยความจำ(External Memory) เป็นหน่วยความจำที่ต้องอาศัยสื่อบันทึกข้อมูลและอุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูลชนิดต่างๆ ได้แก่ ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) เป็นฮาร์ดแวร์ที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งโปรแกรมใช้งานต่างๆ ไฟล์เอกสาร รวมทั้งเป็นที่เก็บระบบปฏิบัติการที่เป็นโปรแกรมควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ย้อนกลับ ถัดไป
การทำงานของคอมพิวเตอร์ หน่วยความจำ ย้อนกลับ