งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
Advertisements

แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
ความคาดหวังของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติต่อการติดตามประเมินผล
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
Research Mapping.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ทพ.สันติ ศิริวัฒนไพศาล 21 กันยายน 2555
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
กลุ่มพัฒนาระบบทันตสาธารณสุข งบประมาณ ปี การส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กวัยเรียน โครงการจัดทำชุดความรู้ประสบการณืการจัด กิจกรรมของครู โครงการจัดการความรู้
ผลงาน กองทันตสาธารณสุข (ตุลาคม2548 – กรกฎาคม2549)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
คณะที่ ๑ : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ประเด็นหลักที่ ๑. ๑
งานทันตสาธารณสุข ในหน่วยบริการปฐมภูมิ
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554 นำเสนอ 7 กันยายน 2553

เป้าหมาย/ความคาดหวังเมื่อสิ้นปีงบประมาณ 54 เกิดความร่วมมือระหว่าง ทันตแพทยสภา กระทรวงสาธารณสุข มหาวิทยาลัย องค์กรทันตแพทย์เอกชน แสะ สปสช. ในการสนับสนุนให้เกิดระบบการจัดบริการด้านทันตกรรมในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่เหมาะสม เกิดกลไกการทำงานด้านทันตกรรม และระบบการรายงานข้อมูลที่เอื้อต่อการติดตามการบริการด้านทันตกรรม ในระดับจังหวัด 3. มีการพัฒนาและกระจายทันตบุคลากรสู่ระดับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและหน่วยบริการปฐมภูมิอื่นๆ อย่างเหมาะสม 4. เด็กประถมศึกษาปีที่ 1. ได้รับการบริการทันตกรรมโดยบูรณาการงานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ป้องกันโรคและรักษาทางทันตกรรม (Comprehensive care) และขยายการเฝ้าระวังในปีถัดไป 5. มีแผนยุทธศาสตร์ด้านทันตสาธารณสุขระยะยาวในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

การจัดบริการทันตกรรม แบ่งตามกลุ่มเป้าหมาย กองทุนทันตกรรม กลุ่มหญิงมีครรภ์ งานสร้างเสริม ป้องกัน และงานรักษาตามกำหนด เด็กปฐมวัย เด็กวัยเรียน (เน้นเด็ก ชั้น ป. 1 โดยให้จัดบริการทันตกรรมผสมผสานอย่างสมบูรณ์ ส่วนเด็กชั้นปีอื่น ให้บริการตามความจำเป็น) ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป งานสร้างเสริม ป้องกัน และใส่ฟันปลอม กลุ่มเยาวชนและวัยทำงาน งานสร้างเสริมและป้องกัน กลุ่มเป้าหมายหลัก กลุ่มเป้าหมายรอง

การบริหารงบประมาณที่เกี่ยวข้องกับจัดบริการ ทันตกรรมในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า กลุ่มเป้าหมาย กองทุนทันตกรรม กองทุน OP/IP กลุ่มหญิงมีครรภ์ งานสร้างเสริม ป้องกัน และงานรักษาตามกำหนด เด็กปฐมวัย เด็กวัยเรียน กลุ่มเยาวชนและวัยทำงาน งานสร้างเสริมและป้องกัน งานรักษา ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป งานสร้างเสริม ป้องกัน และใส่ฟันปลอม

ชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้กองทุนทันตกรรม กลุ่มเป้าหมาย กิจกรรม หญิงมีครรภ์ 1. งานส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ได้แก่ ฝึกทักษะการแปรงฟันหญิง ช่วงฝากครรภ์, เยี่ยมหญิงหลังคลอด 2. การตรวจสุขภาพฟันและ OHI ช่วงฝากครรภ์ 3. การรักษาทางทันตกรรมตามชุดสิทธิประโยชน์ที่ระบุ

ชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้กองทุนทันตกรรม กลุ่มเป้าหมาย กิจกรรม เด็กปฐมวัย 1. งานส่งเสริมสุขภาพช่องปากและป้องกันโรคใน WBC ประกอบด้วย 1.1. การตรวจช่องปากเด็กและให้ความรู้ต่างๆเกี่ยวกับสุขภาพช่อง ปากตามระบบใน WBC 1.2. การฝึกทักษะการแปรงฟันให้ผู้ปกครองเด็ก 1.3. การตรวจสุขภาพฟันและจัดระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงในช่วง 6 -30 เดือน 1.4. จัดบริการเคลือบฟลูออไรด์/ทาฟลูออไรด์วานิช ให้สอดคล้องกับ ปัญหาและปริมาณฟลูออไรด์ในพื้นที่ 1.5. จัดบริการเยี่ยมบ้านในรายที่ไม่มารับบริการในรพ./ศสช./รพสต.

ชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้กองทุนทันตกรรม กลุ่มเป้าหมาย กิจกรรม เด็กปฐมวัย 2. งานส่งเสริมสุขภาพช่องปากและป้องกันโรคใน ศพด./ชุมชน 2.1. การตรวจช่องปากปีละ 2 ครั้ง และให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพช่อง ปากกับผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครอง 2.2. จัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน 2.3. จัดการสิ่งแวดล้อมในศูนย์เด็กให้เอื้อต่อสุขภาพฟัน 2.4. การควบคุมอาหารหวานและอาหารที่ไม่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ ในศูนย์และโรงเรียนอนุบาล 2.5. จัดทำโครงการการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลสุขภาพช่อง ปากของเด็กอย่างเหมาะสม*

ชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้กองทุนทันตกรรม กลุ่มเป้าหมาย กิจกรรม เด็กปฐมวัย 3. งานรักษา 3.1 จัดบริการให้คำปรึกษาแก่กลุ่มเสี่ยงหรือกลุ่มเป้าหมาย ในพื้นที่เสี่ยง 3.2 จัดบริการการเคลือบหลุมร่องฟันตามความจำเป็น 3.3 การอุดฟัน ถอนฟัน รักษาโพรงประสาทฟันน้ำนมตามความจำเป็น

ชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้กองทุนทันตกรรม กลุ่มเป้าหมาย กิจกรรม เด็กวัยเรียน 1. งานส่งเสริมสุขภาพช่องปาก 1.1 จัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันในสถานศึกษา 1.2 จัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อสุขภาพฟัน 1.3 ทำโครงการฝึกทักษะการแปรงฟันรายบุคคล* 1.4 โครงการความร่วมมือของชุมชนในการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก* 2. งานทันตกรรมป้องกันและงานรักษาประกอบด้วย 2.1 การตรวจสุขภาพฟัน 2.2 การเคลือบหลุมร่องฟัน และเคลือบฟลูออไรด์ 2.3 การอุดฟันแท้และฟันน้ำนม 2.4 การขูดหินน้ำลาย 2.5 การถอนฟัน 2.6 การรักษาโพรงประสาทฟันน้ำนม

ในกลุ่มวัยเรียน ให้เน้นเด็ก ชั้นป. 1 โดยต้องการ ให้จัดบริการทันตกรรมผสมผสาน อย่างสมบูรณ์ ส่วนเด็กชั้นปีอื่น ให้บริการตามความจำเป็น

ชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้กองทุนทันตกรรม กลุ่มเป้าหมาย กิจกรรม กลุ่มเยาวชน (มัธยมศึกษาขึ้นไป) และวัยทำงาน 1. งานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก 2. งานทันตกรรมป้องกันตามความจำเป็น

ชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้กองทุนทันตกรรม กลุ่มเป้าหมาย กิจกรรม ผู้สูงอายุ (60ปีขึ้นไป) 1. งานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก 2. ตรวจสุขภาพช่องปาก และ ให้ความรู้สุขภาพช่องปาก 3. จัดบริการทันตกรรมป้องกันแก่ผู้ป่วยในรายที่จำเป็น เช่น การให้ฟลูออไรด์เฉพาะที่ ในผู้ป่วยได้รับการฉายแสง, ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และผู้ที่ใส่ฟันปลอม เป็นต้น 4. ให้บริการทันตกรรมฟื้นฟู เพื่อให้สามารถบดเคี้ยวได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ประกอบด้วย - การใส่ฟันเทียมทั้งปาก - การใส่ฟันเทียมบางส่วนถอดได้

กรอบการบริหารจัดการกองทุนทันตกรรม ปี 2554

1.2 งบสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและกระตุ้นการจัดการระดับจังหวัด 1.งบบริการทันตกรรม 1.2 งบสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและกระตุ้นการจัดการระดับจังหวัด แนวทางการบริหารงบ สปสช.เขตแจ้ง สสจ.และหน่วยบริการเพื่อส่งแผน/โครงการ - สสจ.ส่งแผน/โครงการระดับจังหวัด - CUP/ PCU/สอ./หน่วยงานอื่นๆ ส่งแผน/โครงการตามสภาพปัญหาและบริบทของพื้นที่ สสจ.รวบรวมเสนอคณะกรรมการทันตฯจังหวัดภายในเดือน พฤศจิกายน 53 กองทุนแจ้งจัดสรรวงงบตามรายหัวประชากรให้ สปสช.เขต ทราบ (ภายในเดือน ตุลาคม 53) คณะทำงาน ทันตสาธารณสุขระดับเขตพิจารณาและอนุมัติแผน/โครงการ สปสช. โอนเงินให้สสจ.(100%) (ภายในเดือน ธันวาคม 53) สปสช.เขตรวบรวมแผน/โครงการ เพื่อส่งเบิกสปสช. สปสช.เขต ติดตามผลการดำเนินงานของ สสจ. และรายงานผลต่อ สปสช.ทุก 6 เดือน

1.2 งบสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและกระตุ้นการจัดการระดับจังหวัด 1.งบบริการทันตกรรม 1.2 งบสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและกระตุ้นการจัดการระดับจังหวัด แนวทางการดำเนินงาน (ลักษณะProject- based) ระดับจังหวัด 1. สนับสนุนการดำเนินกิจกรรมตามยุทธศาสตร์ระดับประเทศที่ เกี่ยวข้องกับสุขภาพช่องปาก 2. สนับสนุนการดำเนินกิจกรรมตามนโยบายระดับจังหวัดที่ 3. พัฒนาและสนับสนุนการกระจายทันตบุคลากรในระบบบริการ ปฐมภูมิ เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการทันตสาธารณสุขในพื้นที่ 4. ส่งเสริมการเข้าถึงบริการทันตสาธารณสุขในพื้นที่ให้มากขึ้น โดย พัฒนาการมีส่วนร่วมของภาครัฐและเอกชนในพื้นที่ 5. เพิ่มประสิทธิภาพการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากใน ระบบปกติ 6. สนับสนุนการดำเนินโครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากโดยการ มีส่วนร่วมของชุมชน เช่น อบจ. อบต. เทศบาล ระดับ CUP/ PCU/สอ./หน่วยงานอื่น * เป็นโครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากที่ดำเนินงานแก่ ประชาชนในพื้นที่ โดยเป็นการแก้ปัญหาที่สอดคล้องกับ สภาพปัญหา และบริบทของพื้นที่ และมุ่งเน้นใน กลุ่มเป้าหมายที่ไม่ใช่กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ กลุ่มเยาวชน (มัธยมศึกษาขึ้นไป) วัยทำงาน และผู้สูงอายุ ทั้งนี้ การดำเนินโครงการสร้างเสริมและป้องกันสุขภาพช่องปากในระดับจังหวัด CUP/ PCU/สอ./หน่วยงานอื่น (1.2) ต้องไม่ซ้ำซ้อน กับการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในกลุ่มเป้าหมายหลัก (1.3)

1.งบบริการทันตกรรม 1.3 สร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในกลุ่มเป้าหมายหลัก แนวทางการบริหารงบ สสจ.แจ้ง คปสอ. (CUP / หน่วยบริการและPCU และอปท.) เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการการให้บริการในกลุ่มเป้าหมายหลักตามชุดสิทธิประโยชน์ (ส่งแผน สสจ. ภายในเดือน พฤศจิกายน 53) กองทุนแจ้งจัดสรรวงงบตามรายหัวประชากรกลุ่มเป้าหมายให้ สสจ. ทราบ (ภายในเดือน ตุลาคม 53) สปสช. โอนเงิน ให้ CUP (100%) (ภายในเดือน ธันวาคม 53) คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากระดับจังหวัด อนุมัติแผนและส่งเบิกผ่าน สปสช.เขต สสจ. รายงานผลการดำเนินงานในภาพรวมผ่านสปสช.เขตต่อ สปสช. ทุก 6 เดือน สปสช.เขตรายงานผลการดำเนินงานต่อสปสช. ทุก 6 เดือน

1.งบบริการทันตกรรม(ต่อ) 1.3 สร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในกลุ่มเป้าหมายหลัก แนวทางการดำเนินงาน สนับสนุนการดำเนินงาน สร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในเด็กวัยเรียน ตามชุดสิทธิประโยชน์ โดยเน้นการจัดบริการทันตกรรมแบบผสมผสานอย่างสมบูรณ์ในเด็กป.1 สนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในหญิงตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย ตามชุดสิทธิประโยชน์ ทั้งนี้ หน่วยบริการประจำต้องจัดทำแผนปฎิบัติการสำหรับการดูแลสุขภาพช่องปากในกลุ่มเป้าหมายหลักอย่างชัดเจน โดยระบุรายละเอียดกิจกรรม ระยะเวลาที่จะดำเนินการ จำนวนเป้าหมาย ให้ครอบคลุมจำนวนสถานศึกษา/ศูนย์เด็กเล็กในพื้นที่

ทั้งนี้ สำหรับ สปสช. เขต 9 นครราชสีมา และ สปสช. เขต13 กทม ทั้งนี้ สำหรับ สปสช.เขต 9 นครราชสีมา และ สปสช.เขต13 กทม.ให้คณะอนุเขต ปรับรายละเอียดการบริหารได้ภายใต้กรอบที่กำหนดข้างต้น

สปสช. โอนเงินให้หน่วยบริการ 2. แนวทางบริหารงบทันตกรรมฟื้นฟู กองทุนแจ้งหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจ่ายให้หน่วยบริการทราบ หน่วยบริการบันทึกข้อมูลการให้บริการ ผ่านระบบ E-claim สปสช. โอนเงินให้หน่วยบริการ

3 . งบสนับสนุนและพัฒนาระบบบริการทันตกรรม แนวทางการดำเนินการ สนับสนุนระบบการบริหารจัดการ (ระดับประเทศ เขต จังหวัด) เพื่อให้เกิดการดำเนินงานทันตสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพ สนับสนุนการพัฒนาระบบบริการทันตกรรม เพื่อให้เกิดแนวทาง/นวัตกรรมในการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น โครงการนำร่องในการจัดบริการทันต กรรม โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพ/ การผลิต /กระจายทันตบุคลากร เช่น การ กระจายทันตาภิบาลเข้าสู่หน่วยบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล การพัฒนาศักยภาพบุคลากรอื่นๆ ให้มีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากในกลุ่มเป้าหมาย 5. สนับสนุนการพัฒนาระบบข้อมูลทันตสาธารณสุข 6. จัดทำแผนยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพช่องปากระดับชาติ