โครงการ ร้านก๋วยเตี๋ยวมาตรฐาน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ( ใ น พื้ น ที่ เ ข ต เ ท ศ บ า ล น ค ร สุ ร า ษ ฎ ร์ ธ า นี )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวชี้วัดระดับกรม อย. ประเด็น ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ผู้ดำเนินการ
Advertisements

กิจกรรม อย.น้อย โรงเรียนบ้านม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
ความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety)
แนวทางการการดำเนินงานปี 2551
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน คป.สอ.สตูล
กรมอนามัยยุคใหม่... ก้าวข้ามบริบทที่เปลี่ยนแปลง... แล้วไง?
เมนูชูสุขภาพ วิไลลักษณ์ ศรีสุระ นักโภชนาการชำนาญการ
กลุ่มตัวชี้วัด : ๑) จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ ลดลงร้อยละ ๕๐
คุ้มครองผู้บริโภคก้าวไกล คนไทยมีส่วนร่วม
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
รายงานผลการเยี่ยมพื้นที่ กิจกรรม R2 กีฬาสัมพันธ์ต้านยาเสพติด วันที่ 14 เมษายน 2555 ณ บ้านปะตาบาระ หมู่ 1 ตำบลปะเสยะวอ อ.สายบุรี จ.ปัตตานี
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
โครงการอาหารปลอดภัย (Food Safety)
แนวคิดการส่งเสริมปศุสัตว์ไทย
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
C P L F KPI 1 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ครอบครัว เด็ก แม่
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การศึกษาต้นทุนการดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ : ศึกษากรณีการติดตามประเมินผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ คณะวิจัย นายธนชีพ พีระธรณิศร์ นักวิชาการสาธารณสุข.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
เกิดได้ก็ดี คาดว่าต้องเกิด ต้องเกิด เกษตรปลอดสาร ประชาชนฉลาดซื้อ ฉลาดใช้ ฉลาดกิน มีศูนย์รับข้อร้องเรียน คาดว่าต้องเกิด ครัวเรือนปลูกผักกินเอง “
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
Food and drug administration
ตัวชี้วัดสำคัญ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา วันที่ 26 พฤศจิกายน
ตัวชี้วัดการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
แผนการดำเนินโครงการโชห่วยช่วยชาติ “ร้านถูกใจ”
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
โครงการความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร คุณภาพสู่ระบบบริการสุขภาพ
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
ผลการดำเนินงาน ตค.50 – มค.51. รหัส ตัวชี้วัดเกณฑ์ผลการดำเนินงานจังหวัด เป้าหมาย(Y)ผลงาน (X)อัตร า (Z) 1001 ประชาชนที่มี หลักประกันสุขภาพ ได้รับบริการ.
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
การพัฒนาระบบงานคุ้มครองผู้บริโภค
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
นโยบาย “ครัวไทยสู่ครัวโลก”
หลักการเลือกซื้ออาหาร
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
การควบคุมกำกับ สถานที่ผลิต อาหาร ประเภท สถาน ประกอบ การ เป้าหม าย ( แห่ ง ) ตรวจ ค้าง ตรวจ ตรวจทั้งหมดผ่าน ไม่ ผ่าน ไม่ พบ / ยกเลิก แห่ง % % GMP
สมพงศ์ อ่อนประเสริฐ พาณิชย์จังหวัดสุ ราษฎร์ธานี การเคลื่อนไหวราคาสินค้าเดือนมกราคม 2551 และแนวโน้ม.
ประโยชน์ที่ได้รับจากการรับประทาน ประเทศที่นิยมรับประทาน
ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารทั่วประเทศ 142,234 แห่ง เป้าหมายการดำเนินงานอาหารสะอาด รสชาติ อร่อย ปี 2549 ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารได้ มาตรฐาน 60%
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการ ร้านก๋วยเตี๋ยวมาตรฐาน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ( ใ น พื้ น ที่ เ ข ต เ ท ศ บ า ล น ค ร สุ ร า ษ ฎ ร์ ธ า นี )

ก๋วยเตี๋ยว อาหารยอดนิยม พบสารกันเสียในเส้นก๋วยเตี๋ยว (30 ตย. ตกมาตรฐาน คิดเป็นร้อยละ 50) พบสารตะกั่วปนเปื้อนในน้ำจากหม้อต้ม

สารปนเปื้อนอื่นๆในวงจรก๋วยเตี๋ยว ลูกชิ้น (สารกันเสีย บอแร็กซ์) เนื้อสัตว์ (สารเร่งเนื้อแดง) ผักทุกประเภท เช่น ถั่วงอก ผักบุ้ง (สารฟอกขาว ยาฆ่าแมลง) เครื่องปรุงแต่ง เช่น ถั่วลิสง พริกป่น กระเทียมถุง (อะฟลาทอกซิน) แป้งสีเย็นตาโฟ (สี) ผงชูรส น้ำปลา น้ำส้มสายชู น้ำมะนาวเทียม (กรดสังเคราะห์) น้ำ น้ำแข็งสำหรับบริโภค (เชื้อ ปนเปื้อนจากการแช่ของสด)

ความสะอาดของภาชนะ วัสดุ อุปกรณ์ สุขลักษณะของสถานที่ สุขลักษณะของผู้ปรุง ผู้เสริฟ

วัตถุประสงค์ ประชาชนจังหวัดสุราษฎร์ธานีมีทางเลือก ในการบริโภคก๋วยเตี๋ยวอย่างปลอดภัย จากร้านก๋วยเตี๋ยวที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน ตามเกณฑ์กำหนด

เกณฑ์มาตรฐาน ใช้วัตถุดิบที่ได้มาตรฐาน 2) ผ่านการประเมิน CFGT (Food safety/อย./แหล่งจำหน่ายที่รับรอง 2) ผ่านการประเมิน CFGT 3) ใช้หม้อปลอดสารตะกั่ว 4) บุคลากรผ่านการประเมินความรู้

ภาพหม้อก๋วยเตี๋ยวที่มีรอยเชื่อมตะกั่ว

หม้อก๋วยเตี๋ยวที่ใช้ตะกั่วเป็นตัวประสานรอยเชื่อมต่อ

รอยเชื่อมที่ไม่ใช้ตะกั่ว (เชื่อมแบบอาร์กอน หรือ TIG)

รอยเชื่อมที่ไม่ใช้ตะกั่ว (เชื่อมแบบอาร์กอน หรือ TIG)

แผนงาน ประเมินรับรองมาตรฐานร้านที่เข้าร่วมโครงการ แถลงข่าวเปิดโครงการ (kick of campaign) (15 พฤษภาคม 2551) พิธีลงนามความร่วมมือ มอบป้ายมาตรฐาน (เป้าหมาย 30 แห่ง) สัมมนา นิทรรศการความรู้

แผนงาน (เพื่อความยั่งยืน) สร้างแรงจูงใจสำหรับร้านที่ผ่านมาตรฐาน Package ร้านก๋วยเตี๋ยวมาตรฐาน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ประชาสัมพันธ์สนับสนุนด้านการตลาด บริการข้อมูลแหล่งซื้อวัตถุดิบมาตรฐาน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ การแก้ปัญหาสารปนเปื้อนในก๋วยเตี๋ยว อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเลือกใช้วัตถุดิบ ที่มีคุณภาพจากแหล่งจำหน่ายวัตถุดิบ ต้นทางที่ผ่านการตรวจสอบ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ เกิดภาคีเครือข่ายความร่วมมือที่ใกล้ชิด ระหว่างภาครัฐ/องค์กรเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/สื่อมวลชน ผู้บริโภค/ผู้ประกอบการ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ ประชาชนเกิดความตื่นตัวในการเลือกบริโภคอาหารยอดนิยมประเภทอื่นๆ เช่น ร้านอาหารอาหารทะเล ร้านอาหารอีสาน ร้านอาหาร ที่ต้องใช้น้ำมันทอดซ้ำ เกิดการขยายผล ปรับปรุงพัฒนาให้เกิดมาตรฐานสู่ความปลอดภัย

ผู้ดำเนินโครงการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุราษฎร์ธานี ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์สุราษฎร์ธานี เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี

หน่วยงานสนับสนุน องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี สำนักงาน ททท. ภาคใต้ เขต 5 สำนักประชาสัมพันธ์ เขต 5 หอการค้าจังหวัดสุราษฎร์ธานี ชมรมผู้ประกอบการร้านอาหาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี