ระบบสารสนเทศการแพทย์ฉุกเฉิน Information Technology for Emergency Medical Service system สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
ปัญหาที่พบในระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินในปัจจุบัน เอกสารสะสมจำนวนมากเพื่อรอการอนุมัติเบิกจ่าย เอกสารที่มีอยู่เป็นจำนวนมากยากแก่การค้นหาข้อมูลย้อนหลัง ออกคำสั่งปฏิบัติการมากเกินกว่าความจำเป็น ไม่สามารถสะท้อนข้อมูลที่เป็นจริงได้ในกรณีเกิดอุบัติภัยหมู่ ไม่สามารถออกหมายเลขปฏิบัติการได้ เมื่อ internet มีปัญหา
ลักษณะการใช้งานที่ ITEMS รองรับ รองรับการบันทึกข้อมูลเต็มรูปแบบผ่านทางระบบ Call Center แทนการบันทึกด้วยกระดาษ รองรับเหตุการณ์ที่มีผู้ป่วยหนึ่งคน ใช้ชุดปฏิบัติการมากกว่า 1 ชุด (dual system) รองรับเหตุการณ์ที่ มีผู้ป่วยจำนวนมาก (mass casualty) รองรับกรณี ออกเหตุ แล้วไม่พบเหตุ แต่ต้องการขอเบิก รองรับกรณี ออกเหตุ แล้วพบเหตุ แต่ไม่ขอเบิก รองรับกรณี ออกเหตุใช้รถระดับสูงกว่า ระดับที่คัดกรอง (เปลี่ยนระดับแบบบันทึก)
องค์ประกอบของระบบ ITEMS
ข้อแนะนำเบื้องต้น อุปกรณ์ใน ศูนย์รับแจ้งและสั่งการการแพทย์ฉุกเฉิน ตามลักษณะงานในศูนย์ งานและอุปกรณ์ งานรับแจ้ง คัดกรอง และสั่งการทางการแพทย์ งานสื่อสาร วิทยุและส่งชุดปฏิบัติการ (เลือกชุด บอกพิกัดผู้ป่วย) งานติดตามการปฏิบัติงาน (ข้อมูลเวลา การปฏิบัติงาน) คอมพิวเตอร์ 2 จอ 1 จอ โทรศัพท์ 2 สาย 1 สาย วิทยุ - หลายความถี่ ระบบโทรศัพท์ โทรออก โอนสาย ประชุมสายได้ Microsoft .Net Framework 2.0 Internet Port Number : 54000 (upload), 54001 (download)
การทำงานของระบบ ITEMS
การส่งข้อมูลในระบบ ITEMS – Call Center
ระบบบริหารและจัดการข้อมูลการแพทย์ฉุกเฉิน เข้าที่ www.niems.go.th หัวข้อ “Service Online” เลือก “ระบบสารสนเทศน์การแพทย์ฉุกเฉิน” หรือที่ http://ws.niems.go.th/items_front/index.aspx สำหรับทำการฝึกอบรมและช่วงทดสอบโปรแกรม 1 เดือน เลือกที่ “ระบบทดสอบ” http://119.46.66.17/items_front/index.aspx