การนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
Advertisements

นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
กลไกชาติสร้างเด็กไทยก้าวทันโลกยุคใหม่
ความหมายของสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
แนวคิด ในการส่งเสริมการอ่าน
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
นโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
รูปแบบการดำเนินกิจกรรมฟื้นฟูหลังน้ำท่วม
บทบาทของนักวิจัยไทย ต่อ
มหาวิทยาลัยแห่งการเรียนรู้
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
นวัตกรรม Innovation สุทธินันท์ สระทองหน.
โครงการพัฒนาคุณธรรม สำนึกไทย พัฒนาเด็กไทยอย่างยั่งยืน
เทคนิคการทำงานกับชาวบ้าน : ประสบการณ์การเรียนรู้ที่ควรแก่การแสวงหา
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
เพื่อคุณภาพของเด็กและเยาวชน
ประเทศไทยกับการเตรียมความพร้อมของเด็กในยุคสื่อใหม่ในศตวรรษที่ ๒๑
เวชจริยศาสตร์และการคิดเชิงวิพากษ์
บันทึกการประชุม ห้อง สื่อใหม่กับการรู้เท่าทันสื่อ การสัมมนาวิชาการเท่าทันสื่อ ครั้งที่ ๑ ไทย-ทัน-สื่อ มหกรรมการเรียนรู้เท่าทันสื่อแห่งชาติ ครั้งที่ ๑.
พระธาตุพนมค่าล้ำ วัฒนธรรมหลากหลาย เรณูภูไท เรือไฟโสภา งามตาฝั่งโขง.
การจัดการศึกษาในชุมชน
มองอนาคตอุดมศึกษาไทย
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
ความหมายและกระบวนการ
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
ปัญหาสำคัญ / ทางออกสำหรับ เด็ก ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๓. วัตถุประสงค์ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเด็กของ จังหวัดแบบบูรณาการ เพื่อเสนอโครงการพัฒนาเด็กตาม ความต้องการของจังหวัด.
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็น มหาวิทยาลัยชั้นนำ ในระดับภูมิภาคเอเชีย ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ และ ทำนุบำรุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเป็นฐาน วิสัยทัศน์
การนำผลการวิจัยไปใช้
รายละเอียด แผ่น CD Folder 1 KM เอกสารชุดความรู้ สตน. ๒๕๕๓ รวม ๑๓ บท และ เอกสารอ้างอิง ( ๓๐๙ หน้า ) Folder 2 KM ชุดนำเสนอ ( Power Point.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
กรอบการจัดทำแผนยุทธศาสตร์สุขภาพจังหวัด แผนยุทธศาสตร์สุขภาพจังหวัด
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
รายงานการฝึกอบรมโครงการ “ผู้นำเยาวชนคนพิการ พลิกฟื้นชุมชน สู่การพัฒนา”
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบบูรณาการ สู่
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
จังหวะก้าวงานสร้างสุข ๓ ปี
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
การวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้เพื่อเสริมความแกร่ง (เข้มแข็ง) ของชุมชน
ระบบส่งเสริมการเกษตร
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
เทคโนโลยีสารสนเทศ ง นายธวัชชัย ฝ่ายพลแสน
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
ครั้งที่ ๒.
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
การวิจัยในงานประจำ.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
วทน. กับสังคม เรียนรู้ วิจารณ์ พานิช มูลนิธิสถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อ สังคม ( สคส.)
การพัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพโดยใช้ กระบวนการมีส่วนร่วมในเครือข่ายสังคม ออนไลน์ (Health Information System Development With Participation By Social Networking)
จัดทำโดย ด. ช. ต่อสักดิ์ ถาน้อย ม.1/4 เลขที่ 9 ด. ญ. ศิวัชญา ศรีทองวัน ม.1/4 เลขที่ 8 ส่ง อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
การสร้างและจัดการภูมิปัญญา การแพทย์พื้นบ้าน วิจารณ์ พานิช ยุทธศาสตร์การทำงานของกรมฯ.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ วิจารณ์ พานิช นายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล เสนอในการประชุมวิชาการ ๑๐ ปีชุมชนแพรกหนามแดง ๑๒ - ๑๔ มีนาคม ๒๕๕๕ เสนอวันที่ ๑๓ มี.ค. ๕๕

การนำผลการวิจัยเพื่อท้องถิ่นไปใช้ประโยชน์ โดยนักวิชาการ โดยชาวบ้าน / คนในท้องถิ่น

การวิจัยเพื่อท้องถิ่น ของชาวบ้าน โดยชาวบ้าน เพื่อชาวบ้าน โจทย์มาจากชาวบ้าน ชาวบ้านรวมตัวกันพัฒนา / แก้ปัญหา โดยร่วมกันวางแผน / แนวทาง แล้วลงมือทำ เก็บข้อมูล ตรวจสอบผล สรุปข้อเรียนรู้ สำหรับนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในโครงการอื่นต่อไป มีพี่เลี้ยง

ประโยชน์ที่เกิดขึ้น การเรียนรู้ตลอดชีวิต การเรียนรู้เป็นทีม (Team Learning) ความมั่นใจ ที่จะเรียนรู้จากการปฏิบัติ (Learning by Doing) การแก้ปัญหาของพื้นที่ การพัฒนา ในพื้นที่ การมีเครือข่าย ทั้งในพื้นที่ และนอกพื้นที่ การเปลี่ยนแปลงนโยบาย /ระบบ เพิ่มพูนความรู้เชิงวิชาการ

กระบวนการใช้ประโยชน์จากงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น การทบทวนความรู้ที่มีในโลก ได้ ค. ที่พร้อมใช้ ส่วนนี้ไม่ต้องวิจัย ระหว่างวิจัย จัดเวที ลปรร. เชิญนักวิชาการมา ลปรร. ได้ ค. ใน & นอก โครงการ ผู้ลงมือทำ ได้ใช้ประโยชน์ สื่อสารผลวิจัยในพื้นที่ & นอกพื้นที่ มีคนเอาไปใช้มากขึ้น สื่อสารกับสังคม / สื่อมวลชน / เวทีนโยบาย เพื่อผลเชิงนโยบายสาธารณะ เปลี่ยนความคิดของผู้คน

กระบวนการใช้ประโยชน์จากงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น (๒) ในกระบวนการ/ขั้นตอน วิจัย มีโจทย์วิจัยใหม่ ที่มีคุณค่า จากการทำงานวิจัย ทำให้ค้นความรู้เก่งขึ้น รู้แหล่งความรู้ แหล่ง “ผู้รู้” เชื่อมโยงกับสถานศึกษา การเรียนรู้แบบลงมือทำ การเรียนด้วยโครงงาน เชื่อมโยงกับขบวนการเยาวชน

ประโยชน์ที่ยิ่งใหญ่ การวิจัยเป็นวิถีชีวิต เป็นวิถีการเรียนรู้ตลอดชีวิต การวิจัยไม่ใช่เรื่องยาก