จินตนาการว่า (IMAGINE…)
เด็กๆ เรียนรู้เกี่ยวกับการพึ่งตนเองด้วยการเพาะปลูกอาหารด้วยตัวเอง (Children learning about self-sufficiency by actually growing their own produce)
เด็กๆ ส่งผ่านความรู้เกี่ยวกับเกษตรยั่งยืนแก่กันและกัน (Children passing on their knowledge of sustainable practices to other children)
ทั้งชุมชนร่วมกันมีส่วนในการให้การศึกษากับลูกหลานของตน (Whole community being involved in the children’s education)
คณะครู สมาชิกชุมชนทำงานร่วมกันผสานความรู้สู่หลักสูตรท้องถิ่น (Working together with teachers and community members to bring local knowledge into the curriculum)
การพึ่งพาตนเอง(ได้รับการเผยแผ่และ)ขยายขอบเขตไปทั่วภาคอีสานและทั่วโลก (Self-sufficiency spreading to the greater Isaan community and throughout the world)
ดังที่กล่าวมาข้างต้นคือเป้าหมายของโครงการจัดการขยะและเกษตรชุมชนเพื่อความยั่งยืน (These are the goals of the Sustainable Community Agriculture and Waste Management Project)
ระยะที่ ๑ การสร้างชุมชน การพัฒนาโครงการ เพื่อก่อให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างชาวนาในท้องถิ่นและสมาชิกชุมชนอื่นๆ ที่ส่งเสริมความยั่งยืน การพัฒนาโครงการ กำหนดวิสัยทัศน์เบื้องต้นและกำหนดระยะเวลา Community Building: Making connections with local farmers, and other community members that are promoting sustainability Program Development: Develop an initial vision and timeline (action plan!)
ระยะที่ ๒ การแลกเปลี่ยนความรู้ การสำรวจข้อมูลทางสังคม ทั้งชุมชนมาร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับเกษตรกรรมยั่งยืน มรดกทางวัฒนธรรมของชุมชนอีสาน และหลักสูตร การสำรวจข้อมูลทางสังคม ทำการบันทึกลักษณะการบริโภคของแต่ละครอบครัวในชุมชนและจัดตั้งกำหนดเกณฑ์มาตรฐานในการวัดความก้าวหน้าตลอดระยะเวลาของโครงการ เกษตรกรรมชุมชนเพื่อความยั่งยืน เกษตรกรในท้องถิ่นเป็นผู้ให้คำแนะนำเด็กๆ เพื่ออำนวยการให้เด็กๆได้ปลูกในสวนและสอนให้เขาเหล่านั้นแก้ปัญหาภายในสวน Knowledge Exchange: Whole community coming together to discuss sustainable farming, Isaan heritage, and curriculum Social Survey: Record food consumption of each family in the and set a benchmark to measure progress throughout the project’s lifetime Community Sustainable Farming: Local farmers serve as mentors to facilitate the children in growing their garden and teach them problem solving in the garden
ระยะที่ ๒ การทำปุ๋ยเพื่อใช้ภายในชุมชน การจัดการขยะ เด็กเรียนรู้ที่จะทำปุ๋ยและใช้ปุ๋ยเพื่อเป็นการจัดการขยะ การจัดการขยะ เด็กๆ เรียนรู้เกียวกับผลกระทบของขยะในชุมชน ว่าเส้นทางของขยะไปจบลง ณ ที่ใดและจัดการอย่างไร Community Composting: Children make a compost pile to manage waste and use as fertilizer Waste Management: Children learn the impact of waste on their community, where waste ends up, and how to manage it
ระยะที่ ๒ การแลกเปลี่ยนที่เท่าเทียม (การค้าที่เป็นธรรม) กองทุนของชุมชน ระบุและสร้างเครือข่ายกับผู้ค้าที่เป็นธรรมเพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจภายใต้รากฐานของความเป็นอยู่ที่ยั่งยืน กองทุนของชุมชน ครูและสมาชิกชุมชนร่วมกันจัดตั้งกองทุนของโรงเรียนเพื่อก่อให้เกิดโครงการเกษตรที่ต่อเนื่องในระยะยาว การจัดงานมหกรรมชุมชน เพื่อเป็นการฉลองความก้าวหน้าของโครงการและแสดงให้เห็นถึงความรู้ที่นักเรียนได้รับ Fair Trading: Identify and network with local fair trade sellers to learn about the economics involved in sustainable and living Community Investing: Implement a school fund with students, teachers, and community members to support the longevity of the garden project Community Fair: Celebrate the progress of the project and showcase the knowledge gained by the students
ระยะที่ ๓ การประเมินผล การแลกเปลี่ยนระหว่างชุมชน ซึ่งเป็นระยะของการมองย้อนไปสู่อดีตและพิจารณาความสำเร็จของโครงการว่าบรรลุจุดประสงค์ที่ระบุเอาไว้ในวิสัยทัศน์และกำหนดเวลาที่ระบุไว้ในระยะที่ ๑ การแลกเปลี่ยนระหว่างชุมชน ผู้ร่วมโครงการทุกๆ คนประชุมร่วมกันเพื่อที่จะตัดสินอนาคตของโครงการและก้าวต่อไปที่เหมาะสม Assessment: A time to look back and see if the project was successful in its objectives established in the vision and timeline of Phase 1 Community Exchange: All participants meet to decide the future of the project and appropriate next steps
QUESTIONS or COMMENTS?
Phase 1: ระยะที่หนึ่ง การสร้างชุมชน การพัฒนาโครงการร่วม เด็กๆ เดินทางไปเยี่ยมชุมชนสัปดาห์ละครั้ง เช่น การไปดูงานที่สวนเกษตรหรือโคกขยะ “โครงการเยี่ยมบ้าน” คณะครูเข้าเยี่ยมผู้ปกครองทุกๆ เดือนเพื่อให้ครูและผู้ปกครองรู้จักและเข้าใจกันมากยิ่งขื้น การพัฒนาโครงการร่วม พวกเราทุกๆ คนสามารถช่วยกันสร้างวิสัยทัศน์และกำหนดระยะเวลาในการทำงานร่วมกัน Community building: Kids going out into community once a week, for example visiting farms or landfill, “Krongahn yeeum bahn” – teachers visit with parents Parents and teachers know and understand each other Program Development- We can create a vision and timeline together
Phase 2: ระยะที่ ๒ การแลกเปลี่ยนความรู้ การสำรวจทางสังคม พบปะกับครูโรงเรียนศรีฐาน เด็กนักเรียนโรงเรียนศรีฐานและหนองแวงแลกเปลี่ยนร่วมกัน การสำรวจทางสังคม เด็กๆ ทราบว่าอาหารมาจากไหนและใช้เงินซื้อมาเท่าไหร่ - ลำดับต่อไปคือการบันทึกข้อมูลต่างๆ เพื่อจะได้ทราบว่ามีความก้าวหน้าในการทำงานเพื่อให้รู้สถานการณ์ปัจจุบัน Knowledge exchange Meet with Srithan teachers Srithan and Nong Wang kids exchange Social Survey Children already have knowledge about where food comes from and how much money is spent on food Next step is to record this information In order to know what progress we can make we have to know what the situation is now
ระยะที่ ๒ การทำเกษตรยั่งยืนเพื่อชุมชน การทำปุ๋ยหมัก การทำสวนในโรงเรียน การเข้าเยี่ยมชาวนา ชาวนามาสอนในโรงเรียน การทำปุ๋ยหมัก ไปเรียนกับโรงเรียนศรีฐาน ใช้เศษอาหารจากโรงเรียน ระยะที่ ๒ Community Sustainable Farming Garden at school Visit farmers farmers come to school to teach Composting Learn from Srithan use left over food waste from school
ระยะที่ ๒ การจัดขยะ ทำการค้าที่เป็นธรรม/การลงทุนโดยชุมชน ไปดูงานที่โคกขยะเกี่ยวกับขยะต่างๆ จัดหากล่องใส่ขยะรีไซเคิล (เพื่อนำกลับมาใช้อีก) เริ่มต้นการรีไซเคิล (การนำขยะกลับมาใช้ใหม่) ทำการค้าที่เป็นธรรม/การลงทุนโดยชุมชน เด็กๆ เริ่มทำการขายผักที่ตนเองปลูก แล้วเก็บเงินเข้ากองทุนเงินฝาก สอนเด็กๆ ให้รู้จักการเก็บออมเงิน Waste Management Visit landfill to learn about waste Get recycling boxes Start recycling Fair Trading/ Community Investing Children can start to sell some of the vegetables they grow This money can go into childrens’ savings fund Teach children how to save money