นโยบายคุณภาพ Quality Policy

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Medication reconciliation
Advertisements

การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
สถานีอนามัยบ้านแมด ตำบลดงชน อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร
สถานีอนามัยดงขุมข้าว ตำบล พังขว้าง อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร โดย นางสาวพัชราวลี สายบัว นางสาวนิตยา บุญศรี นางสาวพาฝัน ชายคำ นางสาวกรวิกา.
การพัฒนาระบบส่งต่อ การดูแลสุขภาพเขตเมือง
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
เครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัย ด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ จังหวัดเชียงราย
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแล ผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 12.
โรงพยาบาลสิรินธร สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ : ประสบการณ์โรงพยาบาลแม่ลาว Mae Lao hospital, Chiang Rai province, Thailand สุทธินีพรหมใจษา วราลักษ์ รัตนธรรม สุภาพรตันสุวรรณ.
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
การจัดการระบบการดูแลรักษา โดยผู้ประสานงานในโรงพยาบาลห้วยพลู
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
จังหวัดนครปฐม.
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปการประชุม เขต 10.
ดร.นพ.พิทักษ์พล บุณยมาลิก ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์
นพ.สมชาย เชื้อเพชรโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 13
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ไข้เลือดออก.
เป้าหมายในช่วงฤดูการระบาด ลดการตาย เน้นการมี Dengue Corner ในโรงพยาบาล มี Case manager จังหวัดที่มีอัตราผู้ป่วยตายเกิน 0.12 เป็นพื้นที่ที่กระทรวงให้ความสำคัญ.
โครงการยิ้มสวยเสียงใส
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
คู่มือการบันทึกข้อมูล 7 แฟ้ม กลุ่มข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วย
Point of care management Blood glucose meter
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
Health Referral System for Care of People with Diabetics foot
โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง

1. การ ดำเนินงานตามกฎระเบียบ การประกันสังคม 2. ความสามารถ ในการดำเนินการ เรียกเก็บเงินได้ตามกำหนด 3. ความรวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วนใน การให้บริการ 4. การมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย.
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ, งานระบาดวิทยา,EPI, งานทันตะฯ ด้วยสองมือ... ของพวกเรา... ร่วมสร้าง.
การดำเนินงานดูแลผู้ป่วยต้อหิน จังหวัดร้อยเอ็ด 2011
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
การดูแลผู้ป่วยระยะยาว
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายคุณภาพ Quality Policy “โรงพยาบาลขอนแก่นราม มุ่งมั่นในการให้บริการ ทางการแพทย์ ที่ได้คุณภาพมาตรฐานสากลและ มีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง”

การดำเนินงานพัฒนาระบบงานควบคุมวัณโรคในโรงพยาบาลเอกชน ( รพ.ขอนแก่นราม ) บทนำ รพ.ขอนแก่นราม เป็นโรงพยาบาลเอกชน ซึ่งเริ่มมีส่วนร่วมในการดูแลค้นหาผู้ป่วยวัณโรคอย่างจริงจังในระยะช่วงปี 2551- 2552 ดังนั้น การพัฒนาระบบงานยังต้องพัฒนาบุคลากรทั้งด้านความรู้ ด้านวิชาการ จากผู้มีประสบการณ์เพื่อให้ได้ตามมาตรฐานสากลในการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรค

วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมให้การดูแลรักษาและพัฒนาระบบงานวัณโรคในรพ วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมให้การดูแลรักษาและพัฒนาระบบงานวัณโรคในรพ.เอกชนให้ได้ตามมาตรฐานสากล

บทบาทของรพ.ขอนแก่นราม 1.ด้านการค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ 1.1 ค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ที่มีอาการสงสัยวัณโรค มีพยาบาล Screening ที่แผนกประชาสัมพันธ์ ผู้ป่วยที่สงสัยTB ส่งตรวจที่แผนกอายุรกรรม

ใน Case ที่เป็น TB นอกจากได้รับการรักษากับอายุรแพทย์แล้วทางรพ ใน Case ที่เป็น TB นอกจากได้รับการรักษากับอายุรแพทย์แล้วทางรพ.ได้นัดผู้ป่วยให้กลับมา F/U กับ chest med คือ นพ.บุญส่ง พัจนสุนทร ทุกวันเสาร์เวลา 15.00 -16.00 น.

1.2 ตรวจเสมหะในผู้ป่วยที่มีอาการสงสัยอย่างน้อย 3 วัน

ห้องเก็บเสมหะ

1. 3 ผู้ป่วยวัณโรคทุกรายแนะนำให้ตรวจ HIV เดือนแรกของการรักษา 2 ให้ความรู้และคำปรึกษา เช่น การรับประทานยาให้ครบ Course รวมทั้งผลข้างเคียงของยา รักษาผู้ป่วยด้วยระบบยามาตรฐาน

บันทึกผลการรักษาในบัตรบันทึกการรักษาโดยใช้แบบฟอร์ม TB ส่งต่อผู้ป่วยรับการรักษาที่สถานีอนามัย/รพ. ใกล้บ้าน ติดตามผู้ป่วยที่ขาดการรักษาหรืออาการแพ้ยาหรืออาการแทรกซ้อนจากยาโดยเร็วที่สุด ตรวจเสมหะผู้ป่วยวัณโรคเมื่อสิ้นสุดการรักษา

3. ประสานงานและให้ความร่วมมือในการดำเนินงานควบคุมวัณโรคในระดับจังหวัด,อำเภอ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับ

ขอได้รับความขอบคุณจากทีมงาน KKR.

ขอขอบคุณ โปรดให้ข้อเสนอแนะ