โอเพนซอร์สในประเทศไทย เสรี ชิโนดม สมาคมสมาพันธ์โอเพนซอร์สแห่งประเทศไทย http://www.tosf.org ผู้อำนวยการสำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
หัวข้อนำเสนอ ความหมายของโอเพนซอร์ส สัญญาอนุญาตของโอเพนซอร์ส ทำไมต้องใช้โอเพนซอร์ส นโยบายด้านไอทีของรัฐบาลในการสนับสนุนให้องค์กรต่างๆใช้โอเพนซอร์ส ผู้สนับสนุนโอเพนซอร์ส อุปสรรคต่างๆที่ขัดขวางการขยายตัวของ โอเพนซอร์ส ความนิยมของโอเพนซอร์สในต่างประเทศ ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สที่ใช้งานในองค์กร
โอเพนซอร์สคืออะไร ? Free Software ≠ Freeware OSS Philosophy Open Source ≅ Free Software Free Software ≠ Freeware Right to Study Free Software ≠ Freeware Right to Copy Right to Redistribute Right to Modify Open Source Software OSS Philosophy
Categories of Free and Non-Free Software
ซอฟต์แวร์เสรี (Free Software) คำว่าซอฟต์แวร์เสรี (บางครั้งก็เรียกว่าฟรีซอฟต์แวร์) หมายถึง อิสรภาพในการใช้ซอฟต์แวร์นั้นๆ ในทุกๆ วัตถุประสงค์ ไม่ว่าจะเป็นการศึกษาการทำงานของโปรแกรม การประยุกต์ซอฟต์แวร์ให้เป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้ การเผยแพร่ซ้ำและการเพิ่มขีดความสามารถในโปรแกรมและเผยแพร่โปรแกรมที่มีการปรับปรุงแล้วสู่สาธารณชนเพื่อประโยชน์ของประชาคมโดยรวม
ซอฟต์แวร์สาธารณะ (Public domain software) ซอฟต์แวร์สาธารณะเป็นซอฟต์แวร์ที่ไม่มี ลิขสิทธิ์ ในบางกรณีโปรแกรมกระทำการ (Executable Program) สามารถอยู่ใน Public Domain โดยไม่มีซอร์สโค้ดให้ ซึ่งไม่จำกัดว่าเป็นซอฟต์แวร์เสรี เพราะซอฟต์แวร์เสรีต้องสามารถเข้าถึงซอร์สโค้ดได้
Copylefted software Copylefted software เป็นซอฟต์แวร์เสรีที่
ฟรีแวร์ (Freeware) ฟรีแวร์มักจะใช้กับชุดของซอฟต์แวร์ที่ อนุญาตให้เผยแพร่ซ้ำได้แต่ไม่สามารถดัดแปลงซอฟต์แวร์ได้ ฟรีแวร์จะไม่ให้ ซอร์สโค้ด ซึ่งซอฟต์แวร์ในลักษณะนี้จะ ไม่ใช่ซอฟต์แวร์เสรี
แชร์แวร์ (Shareware) แชร์แวร์ เป็นซอฟต์แวร์ที่มาพร้อมกับการ อนุญาตให้ผู้ใช้สามารถเผยแพร่ซ้ำซอฟต์แวร์นั้นๆ แต่ผู้ที่ใช้ซอฟต์แวร์นั้นต่อจะต้องจ่ายค่าสัญญาอนุญาต แชร์แวร์ไม่ใช่ซอฟต์แวร์เสรีหรือแม้แต่กึ่งซอฟต์แวร์เสรีโดยส่วนใหญ่ แชร์แวร์จะไม่ให้ซอร์สโค้ด
ซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ (Commercial Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาโดยธุรกิจซึ่งมีจุดมุ่งหมายในการหารายได้จากผู้ใช้ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ กับ ซอฟต์แวร์ให้ใช้ สิทธิ์ ไม่เหมือนกัน โดยซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ส่วนใหญ่เป็นซอฟต์แวร์ที่ให้สิทธิ์การใช้แต่ก็มีบ้างที่เป็นซอฟต์แวร์เสรีเชิงธุรกิจ
ซอฟต์แวร์ธุรกิจกับโอเพนซอร์ส ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส การพัฒนา (Development) ปิด เปิด, ความร่วมมือผ่าน อินเทอร์เน็ต การอนุญาต (License) ใช้เท่านั้น ใช้ ศึกษา ปรับเปลี่ยน และเผยแพร่ซ้ำ จุดมุ่งหมายทางธุรกิจ (Business Goal) ครอบงำตลาด การรวมระบบ การปรับให้เหมาะตามความต้องการและ Localization การส่งมอบ (Delivery) เพื่อธุรกิจ เพื่อการศึกษา,ธุรกิจ ความเป็นเจ้าของ (Ownership) แต่เพียงผู้เดียว, จำกัด ทวีคูณ, ไม่จำกัด
สัญญาอนุญาต(License) ปัจจุบันมีข้อสัญญาอนุญาตมากมายที่สามารถจำแนกออกเป็นกลุ่มๆ ได้ ที่เป็นสัญญาอนุญาตพื้นฐานและเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางได้แก่ The GNU General Public License (GPL) The GNU Library or "Lesser" Public License (LGPL) The BSD license The MIT license The Artistic license The Mozilla Public License v. 1.0 (MPL)
สัญญาอนุญาต(2) The Qt Public License (QPL) The IBM Public License The MITRE Collaborative Virtual Workspace License (CVW License) The Ricoh Source Code Public License The Python license (CNRI Python License) The Python Software Foundation License The zlib/libpng license The Apache Software License The Vovida Software License v. 1.0 The Sun Industry Standards Source License (SISSL) The Intel Open Source License
สัญญาอนุญาต(3) The Mozilla Public License 1.1 (MPL 1.1) The Jabber Open Source License The Nokia Open Source License (NOKOS License) Version 1.0a The Sleepycat License The Nethack License The Common Public License The Apple Public Source License The X.Net License The Sun Public License
สัญญาอนุญาต(4) The Effiel Forums License The W3C License The Motosoto License The Open Group Test Suite License The Zope Public License The zlib/libpng License The Academic Free License The Attribution Assurance License
สามารถดูรายละเอียดได้ที่ http://www.gnu.org/ http://www.opensource.org/ http://conferences.oreillynet.com/os2002/ http://www.slat.org/project/legal/GNU_GPL_Chinese http://www.gnu.org/licenses/translations.zh.html
ข้อแนะนำสำหรับสัญญาอนุญาต OSS ที่เหมาะสมกับความต้องการ เงื่อนไข ประเภทสัญญาอนุญาตที่เสนอ ถ้าต้องการซอร์สโค้ดที่ดัดแปลง GPL หรือ LGPL ถ้าไม่ต้องการซอร์สโค้ดที่ถูกดัดแปลง (เก็บการดัดแปลงไว้เป็นส่วนตัว) X หรือ Apache ถ้ายอมให้รวมกับซอฟต์แวร์อื่น LGPL (ถ้าต้องการซอร์สโค้ดที่ถูกดัดแปลง), X หรือ Apache (ถ้าไม่ต้องการซอร์ส โค้ดที่ถูกดัดแปลง) ถ้าต้องการขายเป็นสัญญาอนุญาตเชิงพาณิชย์ซึ่งไม่ใช่โอเพนซอร์ส สัญญาอนุญาตแบบควบ (GPL + สัญญาอนุญาตเชิงพาณิชย์) ถ้าต้องการสิทธิพิเศษ ไม่ใช่โอเพนซอร์ส
ตารางเปรียบเทียบลักษณะสัญญาอนุญาตแบบต่างๆ GPL LGPL BSD NPL MPL PD สามารถรวมกับซอฟต์แวร์ที่ไม่ฟรี N Y การดัดแปลงสามารถเก็บไว้ได้และไม่ย้อนกลับมายังผู้พัฒนาซอฟต์แวร์เดิม สามารถให้สัญญาอนุญาตซ้ำ ผู้ถือลิขสิทธิ์เดิมมีสิทธิพิเศษเหนือการดัดแปลงแก้ไข รวมกับซอฟต์แวร์อนุญาตให้สิทธิ์และเผยแพร่ซ้ำ รวมกับซอฟต์แวร์GPL และเผยแพร่ซ้ำ ต้องแบ่งปันซอร์สของรุ่นเผยแพร่ซ้ำ
ความเข้าใจที่มีต่อโอเพนซอร์ส โอเพนซอร์สเป็นมากกว่าฟรีแวร์หรือ ซอฟต์แวร์ แจกฟรีหรือซอฟต์แวร์ที่ขายใน ราคาถูก ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนว่าโอเพนซอร์สเป็นของฟรี อาจสร้างความลำบากให้กับอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทยในอนาคต
ความเข้าใจที่มีต่อโอเพนซอร์ส การปลูกฝังว่าซอฟต์แวร์จะต้องเป็นของ ฟรีหรือเป็นสิ่งที่ไม่ควรคิดมูลค่าหรือเมื่อ จ่ายค่าฮาร์ดแวร์ แล้วจะต้องได้ซอฟต์แวร์ ติดมาด้วย จะทำให้อุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์ไทยขาดเงินทุนหมุนเวียน และ เติบโตไปได้อย่างเชื่องช้า
ทำไมต้องเป็นโอเพนซอร์ส เกิดการพัฒนาบุคลากรทางด้านซอฟต์แวร์ ซอร์สโคด (Source Code) ที่เปิดเผยทำให้เกิดการ เรียนรู้ และเข้าใจในเทคนิคของการพัฒนาซอฟต์แวร์ ซึ่งจะเป็นตัวอย่างที่ดีให้โปรแกรมเมอร์. เกิดการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบต่อยอด เป็นการนำซอฟต์แวร์ที่มีอยู่จากหลายๆ แหล่งมา ประกอบกันโดยการพัฒนาเพิ่มเติมเพื่อให้สามารถ ทำงานได้ตามต้องการ การพัฒนาเช่นนี้เป็น ประโยชน์มากสำหรับการรวมระบบ (System Integration)
ทำไมต้องเป็นโอเพนซอร์ส เกิดการพัฒนาทางเทคโนโลยี การเรียนรู้จากซอฟต์แวร์ที่มีอยู่จะทำ ให้เกิดการค้นคว้า และแก้ไขจนในที่สุด มีการปรับปรุง หรือมีการพัฒนา ซอฟต์แวร์ใหม่ที่ดีขึ้นกว่าเดิมได้.
ทำไมต้องเป็นโอเพนซอร์ส ประหยัดค่าใช้จ่าย ซอฟต์แวร์ที่เผยแพร่ภายใต้ความคิดแบบ โอเพนซอร์สจะไม่มีการบังคับให้จ่ายค่าใช้งาน ใดๆ ทั้งสิ้น จึงป้องกันการผูกขาดตลาด ไม่ให้ เป็นของบริษัทใดบริษัทหนึ่งได้. บริษัทซอฟต์แวร์จะไม่สามารถตั้งราคา ซอฟต์แวร์ได้ตามอำเภอใจ ดังที่มีให้เห็นใน ปัจจุบัน. นอกจากนี้ยังเป็นการประหยัดต้นทุนการพัฒนาซอฟต์แวร์ ซึ่งจะเป็นการสร้างความสามารถในการแข่งขันของผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์ด้วย
ทำไมต้องเป็นโอเพนซอร์ส สร้างโอกาสทางธุรกิจ เมื่อทุกคนสามารถเข้าถึงความหลากหลายของซอฟต์แวร์พร้อมทั้งสามารถนำไปพัฒนาแบบต่อยอดได้จะทำให้เกิดการพัฒนาซอฟต์แวร์ใหม่ๆ ซึ่งจะเป็นนวัตกรรมสำหรับการสร้างธุรกิจใหม่
การใช้ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส
การใช้งานโอเพนซอร์ส มีการใช้งาน 2 แบบ ใช้เป็นเครื่องให้บริการ ใช้เป็นเครื่องให้บริการอินเทอร์เน็ต ใช้เป็นเครื่องบริการฐานข้อมูล ใช้เป็นเครื่อง Application Server การใช้งานแบบ Desktop
การใช้งานโอเพนซอร์สในปัจจุบัน : เครื่องให้บริการอินเทอร์เน็ต OS Linux Web server Apache Mail sendmail DNS Named Network Nagios ect Editor emacs DBMS PostgreSQL, MySQL Proxy Server Squid Firewall Firewall Builder, Shorewall, Guarddog
การใช้งานโอเพนซอร์สแบบ Desktop ต้องเผยแพร่ให้ผู้ใช้ทราบถึงความสามารถของลินุกซ์ว่า มีความสามารถเหมือนวินโดว์ ซอฟต์แวร์พื้นฐานสำหรับการใช้งานทั่วไป โดยเฉพาะ ด้านสื่อผสม ซอฟต์แวร์ดูภายนต์ในลีนุกส์ ไซน์ (Xine) เอ็มเพลเยอร์ (Mplayer) ซอฟต์แวร์ฟังเพลงในลินุกซ์ในรูปแบบออดิโอ (audio) และเอ็มพีทรี (mp3) Winamp for Linux XMMS – X multimedia system Xamp SnackAmp
การใช้งานโอเพนซอร์สแบบ Desktop ซอฟต์แวร์สร้างและตกแต่งภาพในลินุกซ์ Xnview, Gqview ซอฟต์แวร์จัดการแฟ้มข้อมูลในลินุกซ์ Konqueror ซอฟต์แวร์ส่งแฟกซ์ HylaFax, Fax2Send, Efax ซอฟต์แวร์ป้องกันไวรัสในลินุกซ์ - Dr.Web for Linux, RAV Antivirus ซอฟต์แวร์ห้องสนทนาในลินุกซ์ Xchat
โอเพนซอร์ส:ซอฟต์แวร์พื้นฐาน ซอฟต์แวร์ชุดสำนักงาน ปลาดาว ออฟฟิศทะเล OpenOffice ซอฟต์แวร์พื้นฐานที่สำคัญในชุดสำนักงาน การประมวลผลคำ- Office writer การคำนวณ- Office Calc การนำเสนอ- Office Impress โปรแกรมตกแต่งภาพ- The GIMP โปรแกรมวาดภาพ- Kpaint
แนวโน้มของการใช้งานโอเพนซอร์ส ซอฟต์แวร์ประยุกต์ในปัจจุบันเป็นแบบ Web Application นโยบาย IT 2010 E-Government E-Industry E-Society E-Education E-Commerce
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549 ยุทธศาสตร์: การพัฒนาอุตสาหกรรม ICT เพื่อให้เป็นผู้นำในภูมิภาค การใช้ ICT เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทยและสังคมไทย การปฏิรูปและการสร้างศักยภาพการวิจัยและพัฒนา ICT การยกระดับศักยภาพพื้นฐานของสังคมไทยเพื่อการแข่งขันในอนาคต การพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการเพื่อมุ่งขยายตลาดต่างประเทศ การส่งเสริมผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมใช้ ICT การนำ ICT มาใช้ประโยชน์ในการบริหารและการให้บริการของภาครัฐ
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ. ศ แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549 ที่เกี่ยวข้องกับโอเพนซอร์ส ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาอุตสาหกรรม ICT เพื่อให้เป็นผู้นำใน ภูมิภาค เป้าหมาย 5. ให้มีการใช้Opensorce software ควบคู่กับซอฟต์แวร์ที่ผลิตในประเทศเทียบ มูลค่าไม่ต่ำกว่ารัอยละ 50ของมูลค่าซอฟต์แวร์รวมที่ใช้ในแต่ละปี ยุทธศาสตร์ที่2 การพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการเพื่อมุ่งขยาย ตลาดต่างประเทศ แผนงานและกิจกรรม 3.3.4 การพัฒนาซอฟต์แวร์ในลักษณะOpensource สำหรับเป็นรากฐานให้ อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทยนำไปศึกษาและพัฒนาเพื่อให้เกิดประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ต่อไ
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ. ศ แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549 ที่เกี่ยวข้องกับโอเพนซอร์ส ยุทธศาสตร์ที่ 4 การยกระดับศักยภาพพื้นฐานของ สังคมไทยเพื่อการแข่งขันในอนาคต เป้าหมาย 4.1.1 บรรจุวิชาเกี่ยวกับการเรีบนรู้และการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และ เครื่องมือสื่อสารให้แก่ผู้รับการศึกษาในทุกระดับชั้นทั้งที่จัดให้เป็น หลักสูตรหรือวิชาที่สอน รวมทั้งการฝึกหัดใช้ตามความเหมาะสม โดยหลักสูตรจะเน้นตามเทคโนโลยีเปิดรวมทั้ง Opensource 4.2 ให้องค์กรภาครัฐส่งเสริมและสนับสนุนการให้ภาคเอกชนเร่งรัด ผลิตอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและซอฟต์แวร์ที่ มีคุณภาพ ในราคาประหยัด อาทิ ซอฟต์แวร์กลางทางบัญชี ทั้งนี้ให้ มีปริมาณการผลิตที่สามารถรองรับความต้องการของตลาดและทัน ต่อความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง ในราคาที่เหมาะสม กับการครองชีพ
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ. ศ แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549 ที่เกี่ยวข้องกับโอเพนซอร์ส ยุทธศาสตร์ที่ 7 การนำ ICT มาใช้ประโยชน์ในการบริหารและ การให้บริการของภาครัฐ เป้าหมาย 9.มีซอฟต์แวร์ระบบบริหารขั้นพื้นฐาน ได้แก่ระบบสารบรรณ บริหารบุคคล งบประมาณ การเงิน บัญชี พัสดุ ที่ใช้กับหน่วยงานภาครัฐได้เป็นการทั่วไป ภาย มนปี 2549 แผนงานและกิจกรรม 4. พัฒนาระบบซอฟต์แวร์ที่ง่ายต่อความเข้าใจและการใช้โดยมิได้มีการลงทุน ซอฟต์แวร์ระบบสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน ที่มีมาตราฐานเดียวกันให้เป็น ซอฟต์แวร์กลางของรัฐ ในกรณีที่ซื้อซอฟต์แวร์สำเร็จ(Software Package) ให้มี การซื้อลิขสิทธ์แบบรวมได้ตามความจำเป็น หากเป็นไปได้ ให้ใช้ระบบซอฟต์แวร์ ซึ่งเป็นเทคโนโลยีไทย และพัฒนาขึ้นโดยผู้ประกอบการไทย หรือต่อยอดจาก ซอฟต์แวร์ Opensource ซึ่งเป็นเทคโบโลยีเปิดสำหรับทุกคน 7.4.4 ส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศและซอฟต์แวร์รหัสเปิด
5.แผนงานที่เป็นพลังขับเคลื่อนที่สำคัญที่ต้อง เร่งดำเนินการ แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549 ที่เกี่ยวข้องกับโอเพนซอร์ส 5.แผนงานที่เป็นพลังขับเคลื่อนที่สำคัญที่ต้อง เร่งดำเนินการ 5.1.1.2 โครงการจัดตั้งองค์กรส่งเสริมการพัฒนาซอฟต์แวร์ แบบ Opensource โดยทำหน้าที่สนับสนุนการพัฒนา ซอฟต์แวร์แบบ Opensource ในประเทศไทย รวมถึงเป็น คลังเก็บรวบรวมซอฟต์แวร์แบบ Opensource ที่จะเป็น ประโยชน์กับการใช้งานส่วนของทั้งภาครัฐบาลและ ภาคเอกชน และเป็นคลังความรู้ที่จะให้คำปรึกษากับ หน่วยงานต่างๆที่ต้องการนำซอฟต์แวร์นั้นไปใช้
บทบาทเนคเทค ในการพัฒนา ร่วมพัฒนาโอเพนซอร์สเพื่อให้ใช้ภาษาไทยดีขึ้น พัฒนาลินุกซ์ทะเล ลินุกซ์ SIS สร้าง Software Bank (http://www.softwarebank.org) ร่วมกับภาคเอกชนผู้พัฒนาลินุกซ์ดิสทริบิวชัน กำหนดมาตรฐานและพัฒนาลินุกซ์ดิสทริบิวชันร่วมกัน เพื่อใช้เป็น Core Linux
บทบาทเนคเทค ในด้านการส่งเสริม มีการประชาสัมพันธ์ด้านต่างๆ เช่นการจัดงานมหกรรมโอเพนซอร์สแห่งชาติ ร่วมกับเอกชนจัดงานตามโอกาสต่างๆ จัดทำเว็บไซต์ http://www.opentle.org เพื่อรวบรวมข่าวสารลินุกซ์ทะเลและโอเพนซอร์ส สนับสนุน TLWG โดยจัดหาเครื่องเซิร์ฟเวอร์และอนุญาติให้ใช้เครือข่ายของเนคเทคในการบริการ ส่งเสริมให้มีการนำลีนุกซ์ทะเลและออฟิสทะเลไปใช้ในการเรียนการสอนในโรงเรียน
บทบาทเนคเทค ในด้านการส่งเสริม จัดการแข่งขันการพัฒนาซอฟต์แวร์บนลินุกซ์และแข่งขันการติดตั้งระบบปฏิบัติการลินุกซ์ทุกปี ให้ทุนเพื่อทำวิจัยหรือพัฒนาซอฟต์แวร์บนระบบปฏิบัติการลินุกซ์
บทบาทกระทรวง ICT เกี่ยวกับ OSS ปี 2546 เป้าหมาย 1 ล้านเครื่อง ทั้ง Desktop และ Notebook ใช้ลินุกซ์ทะเลเป็นระบบปฏิบัติการและออฟฟิศทะเลเป็นโปรแกรมชุดสำนักงาน เกือบทำให้ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สเกิดได้ ไม่ต้องกลัวถูกฆ่าตัดตอน สร้างโครงข่ายการอบรมทั่วประเทศ องค์ธุรกิจ มหาวิทยาลัย วิทยาลัย โรงเรียน ปี 2547 เป้าหมายเพิ่ม Server สำหรับ SME ใช้ลินุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการ หลักสูตรการฝึกอบรมสำหรับผู้บริหารและดูแลระบบ โครงการ OS แห่งชาติ
บทบาทกระทรวง ICT เกี่ยวกับ OSS ตั้งคณะกรรมการกำหนดนโยบายด้านซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส กำหนด Action plan ในการส่งเสริมการใช้งานซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส รวบรวมนักพัฒนาโอเพนซอร์ส จัดตั้งคลังซอฟต์แวร์แบบโอเพนซอร์ส ให้ดำเนินการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบโอเพนซอร์ส ในภาครัฐนำล่อง เช่น ซอฟต์แวร์ e-Government
บทบาทกระทรวง ICT เกี่ยวกับ OSS ผลักดันให้ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรทั้งในโรงเรียน วิทยาลัยและมหาวิทยาลัย SIPA จัดอบรมโอเพนซอร์สให้กับ SME จัดตั้งหน่วยงานภายใต้ SIPA เพื่อดำเนินงานเกี่ยวกับโอเพนซอร์ส
อุปสรรคต่างๆที่ขัดขวางการขยายตัวของการใช้งานโอเพนซอร์ส ด้านบุคลากร ขาดแคลนโปรแกรมเมอร์ โดยเฉพาะโปรแกรเมอร์ที่มีความสามารถพัฒนาซอฟต์แวร์ด้วยลินุกซ์ได้ ขาดแคลนผู้เชี่ยวชาญด้านโอเพนซอร์ส ที่จะสนับสนุนผู้ใช้ทั่วไป โดยเฉพาะลินุกซ์ บัณฑิตที่จบมาไม่ได้รับการให้ความรู้เกี่ยวกับลิขสิทธ์และโอเพนซอร์ส ด้านเทคนิค ขาดการสนับสนุนข้อมูล หรือไดรเวอร์จากผู้ผลิตฮาร์ดแวร์ ภาษาไทยบนลินุกซ์ยังมีปัญหาอยู่ บนลินุกซ์ยังขาดซอฟต์แวร์เฉพาะบางตัวเช่น Groupware, เครื่องมือพัฒนา Database Application ระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง และมีราคาประหยัดเติบโตช้ากว่าที่ควรจะเป็น
อุปสรรคต่างๆที่ขัดขวางการขยายตัวของการใช้งานโอเพนซอร์ส ด้านสังคม ซอฟต์แวร์ผิดกฏหมาย สามารถหาซื้อได้ง่ายและยังนิยมใช้กันทั่วไป การถูกบังคับให้ต้องรับหรือส่งไฟล์ที่ต้องใช้ซอฟต์แวร์เฉพาะซึ่งต้องซื้อลิขสิทธ์ ด้านนโยบาย หน่วยงานต่างๆไม่มั่นใจที่จะใช้โอเพนซอร์ส เนื่องจากไม่แน่ใจเรื่องนโยบายรัฐบาลว่าจะส่งเสริมหรือไม่ บ่อยครั้งที่กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างไม่เอื้อำนวยให้ใช้โอเพนซอร์ส ทั้งที่บางงานสามารถใช้โอเพนซอร์สได้เป็นอย่างดี
อุปสรรคต่างๆที่ขัดขวางการขยายตัวของการใช้งานโอเพนซอร์ส ด้านอื่นๆ ผู้บริหารองค์กรไม่เข้าใจเรื่องการใช้โอเพนซอร์ส ความหลากหลายของโอเพนซอร์ส ขาดการประชาสัมพันธ์ พฤติกรรมผู้ใช้ส่วนใหญ่ไม่ชอบการเปลี่ยนแปลงจึงมีแรงต่อต้านในการใช้ การใช้งานโอเพนซอร์สบางครั้งมีความซับซ้อน หนังสือ ตำราเกี่ยวกับโอเพนซอร์สมีน้อย โมเดลทางธุรกิจ ยังไม่ชัดเจน บริษัททีปรึกษาด้านไอที ที่จะให้บริการวางแผนการปรับเปลี่ยนระบบจากของเดิมมาเป็นโอเพนซอร์สยังมีน้อยมาก
แนวโน้ม/ทิศทางการพัฒนา OSS กับตลาดการแข่งขัน แรงผลักดันจากแผนแม่บทไอซีที IT2010 บทบาทของกระทรวงไอซีทีและเนคเทคและสมาคมสมาพันธ์โอเพนซอร์สแห่งประเทศไทย การลดค่าใช้จ่ายขององค์กร ภาครัฐ มีนโยบายจัดทำซอฟต์แวร์กลาง เกิดธุรกิจทางด้านโอเพนซอร์สอย่างจริงจัง ให้บริการคำปรึกษา ฝึกอบรม พัฒนาโปรแกรมอรรถประโยชน์ พัฒนาระบบงาน
การสนับสนุนการใช้งาน โอเพนซอร์สขององค์กร องค์กรต้องกำหนดนโยบายการใช้งานให้ชัดเจน หน่วยงานหลักต้องทำเป็นตัวอย่าง กระทรวงไอซีทีและกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจะต้องนำร่องการใช้โอเพนซอร์ส หน่วยงานที่เป็นผู้พัฒนาโอเพนซอร์สต้องสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ใช้งาน ต้องมีการจัดทำเอกสารคู่มือเผยแพร่อย่างแพร่หลาย มีระบบการฝึกอบบรมที่ดี ผลักดันให้มีหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง ผลักดันให้เกิดการเรียนการสอนในสถานศึกษา
กระแสนิยมโอเพนซอร์สในต่างประเทศ จีน: มีลินุกซ์ประจำชาติคือ RedFlag เป็นบริษัทร่วมทุนที่ก่อตั้ง โดยรัฐและบังคับให้เป็น OS แห่งชาติ ใช้ทั่วไปในหน่วยงาน ของรัฐ ญี่ปุ่น: METI เริ่มโครงการทดลองใช้โอเพนซอร์สในสำนักงาน Sharp, Fujitsu, Toshiba, IBM, ... Turbo Linux, Vine Linux, ... บริษัทเรด แฟลก ซอฟต์แวร์ ของจีน และบริษัทมิราเคิล ลิ นิกซ์ คอร์ป. จากญี่ปุ่น ร่วมมือกันจัดตั้งบริษัทร่วมทุนแห่งใหม่ มุ่งพัฒนาแพลตฟอร์มลินุกซ์ โดยจะให้ชื่อลินุกซ์ นี้ว่า Asianux
กระแสนิยมโอเพนซอร์สในต่างประเทศ เกาหลี: โอเพนซอร์สในสำนักงานของรัฐ Hancom Linux (office suite in Sharp Zaurus) ฟิลิปปินส์: Bayanihan Linux (based on RH 7.3) ELGU-Electronic Local Government Unit (tax collection, real-estate property management, e-business) แผนปฏิบัติการโอเพนซอร์ส 2003
กระแสนิยมโอเพนซอร์สในต่างประเทศ เวียดนาม: ประกาศเร่งพัฒนาและส่งเสริมการใช้ซอฟต์แวร์โอเพน ซอร์สภายใน 5 ปี RedHat Vietnam Edition (based on RH 7.1) Vietkey Linux อินเดีย: เอพีเจ อับดุล คาลาม (A.P.J. Abdul Kalam) ประธานาธิบดีอินเดีย หนุนซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์ส โดยกล่าวว่าซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์ส ช่วยให้ประเทศ กำลังพัฒนา เช่น อินเดีย มีโอกาสก้าวได้ทัดเทียมกับ ชาติตะวันตกหรือประเทศที่พัฒนาแล้วทั่วโลก
กระแสนิยมโอเพนซอร์สในต่างประเทศ ไต้หวัน โครงการซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส เริ่มปี 2546 มีเป้าหมาย เพื่อประหยัดเงิน 295 ล้านเหรียญสหรัฐในการจ่ายค่าสิทธิ์ (royalty) ให้กับไมโครซอฟต์ โครงการนี้รวมถึงการวิจัย และพัฒนาซอฟต์แวร์สำนักงานโดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ใน ประชาคมซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส นอกจากนี้ยังมีแผนในการจัดตั้งศูนย์ฝึกอบรม 6 แห่งทั่ว ไต้หวัน เพื่ออบรมนักพัฒนาซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส คาด ว่าภายใน 3 ปี ศูนย์ฝึกอบรมดังกล่าว จะให้การอบรมระดับ ผู้ใช้ทั่ว 120,000 คน และผู้ใช้ระดับก้าวหน้า 9,600 คน
กระแสนิยมโอเพนซอร์สในต่างประเทศ เยอรมัน: พ.ศ.2542 ธนาคาร Dresdner Kleinwort Wasserstein ใน เยอรมนี เปลี่ยนไปใช้ระบบลินุกซ์ โดยมีจุดประสงค์เพื่อ ประหยัดค่าใช้จ่าย มีการเปลี่ยนจากเซิร์ฟเวอร์ระบบ Unix เครื่องละ 50,000 ดอลลาร์สหรัฐ จำนวน 32 เครื่อง ไปเป็น เซิร์ฟเวอร์ ลินิกซ์จำนวน 40 เครื่อง ที่มีราคาเพียงเครื่องละ 3,000 ดอลลาร์สหรัฐ เทศบาลเมืองมิวนิก ประเทศเยอรมนี ได้ประกาศอัพเกรด คอมพิวเตอร์จำนวน 14,000 เครื่อง จากระบบ Windows ไป เป็น Linux รวมถึงเปลี่ยนชุดซอฟต์แวร์ออฟฟิศจาก Microsoft Office ไปเป็น OpenOffice ด้วย คิดเป็นมูลค่า 30 ล้านยูโร (ประมาณ 1.5 พันล้านบาท)
บริษัทยักษ์ใหญ่ใช้โอเพนซอร์ส บริษัทหลักทรัพย์ยักษ์ใหญ่ของอเมริกา เช่น เมอร์ริล ลินช์ หันมาใช้ลินุกซ์ ซึ่งช่วยประหยัดเงินได้นับล้านดอน ลาร์สหรัฐ พร้อมดินหน้าปรับสถาปัตยกรรมโครงสร้าง ข้อมูลใหม่ทั้งระบบด้วยลินุกซ์โดยใช้เป็นทั้งเครื่องแม่ ข่าย และลูกข่าย บริษัท เวอริซ่อน ผู้ให้บริการโทรคมนาคม ยืนยันว่า บริษัทประหยัดต้นทุนค่าอุปกรณ์ภายในองค์กรได้เกือบ 6 ล้านดอนลาร์สหรัฐ ส่วนอเมซอนดอทคอมสามารถประหยัดเงินได้นับล้าน ดอลลาร์สหรัฐ รัฐบาลกลางสหรัฐอเมริกาให้การรับรอง ลินุกซ์ SuSe ว่าใช้ในหน่วยงานของรัฐได้
บริษัท IBMสนับสนุนโอเพนซอร์ส บริษัทไอบีเอ็มยอมรับและให้การสนับสนุนลิ นุกซ์ เป็นการสร้างเครดิตให้ลินุกซ์และลบ ภาพจุดอ่อนด้านการสนับสนุนการให้บริการ หลังการขาย และเสริมจุดแข็งด้านการเงิน บริษัทชั้นนำอย่าง ไอบีเอ็ม บริษัท SAP และ Oracle หันมาพอร์ตแอพพลิเคชั่นของตนไปสู่ ระบบลินุกซ์
การพัฒนาโอเพนซอร์สในประเทศไทย NSC IT2000 IT2010 WS on TOSS TIS-620 (86) OTN OpenTLE.org WTT (92) ZzzThai TLWG TLUG TOSF.org OSS/ICT WG Thai Sort Thai Locale Hospital-OS ORCHID National Font OSS Project SWATH IANA OCR Corpus LEXiTRON 95 96 98 03 00 01 99 02 97 Kaiwal Linux LinuxSIS LinuxTLE Ziif Linux iCafe Linux Burapha Linux OfficeTLE Payoon Linux Grand Linux Pladao Liberta Linux
ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สในประเทศไทย สมาพันธ์โอเพนซอร์สแห่งประเทศไทย ก่อตั้ง: 3 กย. 2545 สมาชิก 14 (26): การศึกษา: ม.บูรพา(2), มอ.(3), แม่โจ้(1), SCS(2) ธุรกิจ: Ice Solution(3), Linuxen(1), AR Publishing(2), Open Source Technology(1), Micro-X(1) ภาครัฐ: EGAT(3), NECTEC(4), CRL-Asia(1), NSTDAเหนือ(1), สภาอุตฯ(1) 31 ตุลาคม 2546 จัดตั้งเป็น สมาคมสมาพันธ์โอเพนซอร์ สแห่งประเทศไทย
สมาคมสมาพันธ์โอเพนซอร์สแห่งประเทศไทย วัตถุประสงค์ เป็นศูนย์กลางแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น ประสบการณ์ ซอฟต์แวร์และเผยแพร่ข่าวสารข้อมูลเกี่ยวกับโอเพนซอร์ส ให้การส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมโอเพนซอร์ส และกิจกรรมที่สอดคล้องเกี่ยวเนื่องกับโอเพนซอร์สร่วมมือและประสานงานกับองค์กรเอกชน สถาบันการศึกษา และทางราชการจัดกิจกรรมต่างๆ เกี่ยวกับโอเพนซอร์ส ศึกษาวิจัยและพัฒนาซอร์ฟแวร์ เกี่ยวกับโอเพนซอร์สและศาสตร์ที่เกี่ยวเนื่องกับโอเพนซอร์ส ประสานประโยชน์ระหว่างองค์กรโอเพนซอร์สอื่น ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
OSS Ring AOSSC LUGS Singapore AIST&IPA Japan ALDA Korea VOSSA Vietnam Yangfan&Qihang China LUGS Singapore AIST&IPA Japan ALDA Korea OSSF Chinese Taipei TOSF&OSS/ICT-WG Thailand ASTI Philippines PIKOM&MNCC&AOSC Malaysia
บทบาทของและกิจกรรมของสมาคมสมาพันธ์โอเพนซอร์สแห่งประเทศไทย 1. การจัดทำโครงการต้นแบบ e-School ขึ้นใน ต่างจังหวัดโดยใช้ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สเป็น องค์ประกอบ 2. การจัดหรือร่วมจัดกิจกรรมเผยแพร่โอเพนซอร์สใน ช่วงเวลาต่างๆ 3. จัดอบรมและสัมมนาให้ความรู้โอเพนซอร์สในภาค อุตสาหกรรม โรงเรียน และบุคคลทั่วไปที่สนใจ 4. การร่วมกำหนดมาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับ โอเพนซอร์ส
บทบาทของและกิจกรรมของสมาคม สมาพันธ์โอเพนซอร์สแห่งประเทศไทย บทบาทของและกิจกรรมของสมาคม สมาพันธ์โอเพนซอร์สแห่งประเทศไทย 5. เป็นตัวแทนร่วมประชุมกับองค์กรต่างประเทศที่ เกี่ยวข้องกับโอเพนซอร์ส 6. ศึกษาและเผยแพร่ตัวเลขทางสถิติที่เกี่ยวข้องกับ การใช้งานโอเพนซอร์สในประเทศไทย 7. ให้ความร่วมมือและสนับสนุนหน่วยงานภาครัฐและเอกชนจัดกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส 8. รวบรวมจัดทำ Directory ของผู้พัฒนาและแหล่ง ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส 9. จัดตั้งคลังซอฟต์แวร์แบบโอเพนซอร์ส
บทบาทของและกิจกรรมของสมาคม สมาพันธ์โอเพนซอร์สแห่งประเทศไทย 10. ผลักดันให้เกิดรูปแบบทางธุรกิจ (Business Model) โดยใช้ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส 11. ส่งเสริมการพัฒนาซอฟต์แวร์พื้นฐานและ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ 12. วางรากฐานสำหรับการผลักดันให้เป็น อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ของประเทศเพื่อการพึ่งพา ตนเองและการส่งออก