การสร้างหน่วยการเรียนรู้ ดร. เพ็ญนี หล่อวัฒนพงษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
Advertisements

งานวิจัย เรื่อง ผลการใช้แบบฝึกการเขียนคำที่มี รูปวรรณยุกต์กำกับ
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
Research Problem ปัญหาการวิจัย
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การศึกษารายกรณี.
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน มัธยมศึกษาปีที่ 1
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
โครงงาน “นำเที่ยวงานชมรมนิทรรศน์”
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
แผนการเรียนรู้ เรื่อง การจัดองค์ประกอบของการถ่ายภาพ
สรุปภาพรวมการเรียนรู้ เรื่อง หมุนเวลาพาเพลิน
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
เมตาคอกนิชัน(Metacognition)
สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้ (Theme)
“Backward” Unit Design?
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
แนวคิดในการวิเคราะห์ผู้เรียนที่นิยม 5 แนวคิด
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวิเคราะห์ผู้เรียน
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
หน่วย การเรียนรู้.
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษออนไลน์
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษออนไลน์ เรื่อง Conditional Sentences
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษออนไลน์ เรื่อง Conditional Sentences
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
ท่านเกิดปัญหานี้หรือไม่
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
ขวา ซ้าย.
การปลูกพืชผักสวนครัว
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
ผลแห่งความสำเร็จ 3 ห หลักเกณฑ์ หลักการ หลักฐาน.
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
การฟังเพลง.
สายวิชาเคมี ชั้นปีที่ 3
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
การจัดสารนิทัศน์ (DOCUMENTATION)
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
หลักการเขียนโครงการ.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
รายงานผลการวิจัย.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสร้างหน่วยการเรียนรู้ ดร. เพ็ญนี หล่อวัฒนพงษา

ผมสอนให้สนู๊ปปี้ ผิวปาก ไม่เห็นได้ยิน อะไรเลย

ไม่ได้บอกว่าเขาเรียน ผมบอกว่าผมสอน ไม่ได้บอกว่าเขาเรียน

ทดสอบวันศุกร์! นักเรียนเรามีเนื้อหามากมายที่จะต้องเรียนให้จบ ครูจึงตัดสินใจเว้นสระและวรรณยุกต์ในทุกคำที่ครูใช้ พลก ป ท หน 122

ฉันลืมที่จะทำแผ่นสำรองสำหรับสิ่ง ที่ฉันได้เรียนมา เมื่อความจำฉันเกิดชำรุด ฉันเลยลืมหมด

การเรียนเพื่ออนาคต สังคมในอนาคตต้องการความรู้ และทักษะเช่นไร

ความรู้และทักษะสำหรับอนาคต 1. คิดและทำอย่างมืออาชีพ (The Disciplined Mind)

2. สามารถสังเคราะห์ความรู้ (Synthesizing Mind)

3. ความคิดสร้างสรรค์ (The Creative Mind)

4. วุฒิภาวะทางอารมณ์ (The Respectful Mind)

5. จริยธรรม (The Ethical Mind)

ความรู้และทักษะทางเทคโนโลยี

ครูเป็นมืออาชีพในการเรียนการสอน หมายความว่าอย่างไร

การสร้างหน่วยการเรียนรู้ (Teaching Unit) เริ่มจาก 1. ความสนใจของผู้เรียนอาจทำได้ด้วย การสอบถามหรืออาศัยการสังเกต

2. ความต้องการของผู้เรียนอาจทำได้ โดยวัดจากพัฒนาการของผู้เรียน (Developmentally Appropriate) และระดับชั้นเรียน

3. กำหนดเป้าหมายของการเรียนรู้ โดยการทำมาตรฐานช่วงชั้น (Benchmarks) ให้เป็นรูปธรรม ที่สามารถวัดผลได้ชัดเจน

เป้าหมายกำหนดทิศทางและวิธีการของการเรียนการสอนในห้อง

นำมาตรฐานมาเป็นพื้นฐานในการกำหนดสิ่งที่เราต้องการให้เด็กเรียนรู้

องค์ประกอบสำคัญของหน่วยการเรียน (Unit Plan) ก. สิ่งที่เราต้องการ ให้เด็กเรียนรู้ ข. หลักฐาน ผลการเรียน ค. การวางแผน การเรียนการสอน

1. หัวเรื่อง (Topic) “ป่าเขตร้อน” ก. การเลือกเฟ้นสิ่งที่เราต้องการ ให้เด็กเรียนรู้ 1. หัวเรื่อง (Topic) “ป่าเขตร้อน”

2. ประเด็นปัญหา (Issue) และการแก้ปัญหา (Problem-Solving)

3. แก่นเรื่อง (Theme)  ระบบนิเวศน์ (ecosystem)  โซ่อาหารและวงจรชีวิต (food chain)  อนุรักษ์ธรรมชาติ (conservation)

4. ตัดสินใจว่าจะบูรณาการหน่วยการเรียนรู้ นี้หรือไม่? 4. ตัดสินใจว่าจะบูรณาการหน่วยการเรียนรู้ นี้หรือไม่? ป่าเขตร้อน การใช้ภาษาไทย ศิลปะ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ดนตรี สังคม

5. กำหนดขอบเขต (Width & Depth) ของหน่วยการเรียนรู้ ความเข้าใจ รวบยอด

ความเข้าใจ รวบยอด สิ่งที่สำคัญที่นักเรียน ต้องเรียนรู้และสามารถนำมาปฏิบัติได้ ความเข้าใจ รวบยอด

ความเข้าใจ รวบยอด ความรู้ทักษะที่อาจเป็นประโยชน์กับผู้เรียน สิ่งที่สำคัญที่นักเรียน ต้องเรียนรู้และสามารถนำมาปฏิบัติได้ ความเข้าใจ รวบยอด

เนื้อหา (Content)  เนื้อเรื่องมีความสำคัญ  ประกอบด้วย Concepts หลัก  สามารถนำ Concepts ที่เป็นนามธรรม มาทำให้เป็นรูปธรรมที่เข้าง่าย  เป็นสิ่งที่เด็กสนใจอยากรู้ ความเข้าใจรวบยอด

ข. หลักฐานของการเรียนรู้ หมายถึง การวางแผนการประเมิน ข. หลักฐานของการเรียนรู้ หมายถึง การวางแผนการประเมิน ตรวจสอบความเข้าใจ ของผู้เรียน

ตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียน สังเกตและสอบถามผู้เรียนขณะที่ เขาทำกิจกรรมต่างๆ

ตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียน สังเกตและสอบถามผู้เรียนขณะที่ เขาทำกิจกรรมต่างๆ ทดสอบ (Quizz & Test)

ตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียน สังเกตและสอบถามผู้เรียนขณะที่ เขาทำกิจกรรมต่างๆ นำทักษะและความรู้ไปใช้แก้ปัญหาต่างๆ ทดสอบ (Quizz & Test)

ตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียน สังเกตและสอบถามผู้เรียนขณะที่ เขาทำกิจกรรมต่างๆ นำทักษะและความรู้ไปใช้แก้ปัญหาต่างๆ ทดสอบ (Quizz & Test) ผลงานของผู้เรียน

การวัดผล (Assessment)  Validity  Reliability  Sufficient  Authentic  Feasible  Student Friendly

ค. กิจกรรมการเรียนรู้ควรมีความ หลากหลาย ยาก ง่าย และใช้เวลา สั้นยาวแตกต่างกัน

ตัวอย่างของประเภทของการเรียน  เรียนโดยวิธีการแยกแยะ  เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง  เรียนรู้กฏเกณฑ์  เรียนแบบจับใจความ  เรียนแก้ปัญหา  เรียนโดยวิธีการสังเคราะห์ความรู้

ในหน่วยการเรียนรู้ ผู้สอนสามารถเพิ่มเติมกิจกรรมการเรียน โดยให้ผู้เรียนได้รู้จักการใช้เทคโนโลยีต่างๆ

สิ่งที่ต้องการให้นักเรียนรู้ (Know) และปฏิบัติ (perform) เขียนมาตรฐานและลักษณะพึงประสงค์ที่จะสอนในหน่วยการเรียนรู้นี้     

จะทราบได้อย่างไรว่านักเรียนบรรลุจุดประสงค์ของการเรียนรู้ (Outcomes) จะทราบได้อย่างไรว่านักเรียนบรรลุจุดประสงค์ของการเรียนรู้ (Outcomes) ให้บรรยายลักษณะงาน (Tasks)     

จัดการเรียนการสอนและการตรวจสอบวัดผล การเรียนอย่างไร (เขียนวิธีการสอน Methods และ Strategies ของการสอนและการประเมินผล)     

ทรัพยากรที่ใช้ในการเรียนการสอน ตำราเรียน นิตยสาร บุคคล หนังสือนอกตำราเรียน งานวิจัย Internet Search

สรุปการวางแผนงาน 1. ประเมินความสนใจและความต้องการของผู้เรียน 2. กำหนดเป้าหมายของการเรียนการสอน 3. สร้างหน่วยการเรียนรู้  สิ่งที่เราต้องการให้เด็กเรียน  หลักฐาน/ผลการเรียน  กิจกรรมการเรียน  ทรัพยากรที่ใช้สอน

ความสำเร็จ อยู่ที่นี่ อนาคต เริ่มจาก ปัจจุบัน

ขอบคุณค่ะ