การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA) คณะเกษตรศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ www.agri.cmu.ac.th
การบริหารการประกันคุณภาพการศึกษา คณะเกษตรศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ทิศทางที่องค์กรจะมุ่งไปในอนาคต วิสัยทัศน์ (Vision) ทิศทางที่องค์กรจะมุ่งไปในอนาคต เป้า หมาย คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มา: หนังสือเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ ประจำปี 2550
วิสัยทัศน์ (Vision) คณะเกษตรศาสตร์ วิสัยทัศน์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำที่มุ่งเน้นการวิจัย มีการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ มีความเป็นเลิศทางวิชาการ มีระบบการบริหารจัดการที่ดี และ จัดหาทรัพยากรเพื่อการพัฒนาและ พึ่งพาตนเองได้ วิสัยทัศน์ คณะเกษตรศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นสถาบันการศึกษา ในระดับนานาชาติ ทางด้านการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ ที่คำนึงถึงความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม มีความเข้มแข็งทางวิชาการ ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพและคุณธรรม เพื่อการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การประกันคุณภาพการศึกษา (QA) ระบบ (Systems) Calculation & Communication Memory & Control Central C Processing P Unit U Input Output อาจารย์ นักศึกษา ระบบฐานข้อมูล งบประมาณ บัณฑิต ผลงานวิจัย ความพึงพอใจ รางวัล ผลการประเมิน นโยบาย แผน พัฒนาหลักสูตร/การสอน/การวิจัย การเน้นผู้เรียน ธรรมาภิบาล คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ส่วนประกอบ ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา 1. วัตถุประสงค์ 2. องค์ประกอบคุณภาพการศึกษา 3. กลไกการประกันคุณภาพการศึกษา 4. กระบวนการการประกันคุณภาพ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วัตถุประสงค์ของการประกันคุณภาพการศึกษา ควบคุมปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพการศึกษาให้มีมาตรฐาน ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินงานการควบคุมคุณภาพปัจจัยอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง นำผลการประเมินมาใช้ในการปรับปรุงพัฒนาคณะ และภาควิชา เพื่อให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่กำหนด พัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาให้พร้อมสำหรับการตรวจสอบคุณภาพ และการประเมินคุณภาพ โดยหน่วยงานภายใน-ภายนอก คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
องค์ประกอบคุณภาพการศึกษา องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์ ฯ องค์ประกอบที่ 2 การเรียนการสอน องค์ประกอบที่ 3 การพัฒนาและสนับสนุนนักศึกษา องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแก่ชุมชน องค์ประกอบที่ 6 การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กระบวนการ กลไก มีคณะกรรมการประกันคุณภาพฯ ระดับคณะ ภาควิชา/หน่วยงาน วางแผนการดำเนินการการประกันคุณภาพฯ กลุ่มที่ 1 ผู้บริหารระดับสูง (คณบดี รองคณบดี) กำหนด นโยบาย คณะ ให้สอดคล้องกับ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คิด / เขียน แผนยุทธศาสตร์ คณะ ให้สอดคล้องกับนโยบาย ควบคุมให้มีการดำเนินงานตามแผนฯ กลุ่มที่ 2 ผู้ปฏิบัติงาน คิด / เขียน แผนการปฏิบัติงาน ให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์คณะ คิดวิธี / ดำเนินงานตามแผนฯ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด จัดทำรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ทั้งระดับคณะ ภาควิชา/หน่วยงาน (เผยแพร่แก่สาธารณ) มีคณะกรรมการจัดทำรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report: SAR) และเผยแพร่แก่สาธารณ ดำเนินการประเมินผล / นำผลการประเมินมาปรับปรุงแผนการประกันคุณภาพ มีหน่วยงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา มีการจัดทำระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ เพื่อการบริหารจัดการ มีการพัฒนาฐานข้อมูลที่สามารถเชื่อมโยงกับมหาวิทยาลัย คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ระดับการดำเนินงานตามวงจร Plan-Do-Check-Act (PDCA) เกณฑ์การประเมิน ระดับการพัฒนา ตัวคูณ คะแนนการประเมิน (%) ความหมาย ระดับ 0 = 0.0 90 ดีเลิศ (excellent) ระดับ 1 0.1 80-89 ดีมาก (very good) ระดับ 2 0.3 70-79 ดี (good) ระดับ 3 0.5 60-69 พอใช้ (fair) ระดับ 4 0.6 <60 ต้องปรับปรุงแก้ไข (poor) ระดับ 5 0.7 ระดับ 6 0.8 ระดับ 7 0.9 ระดับ 8 1.0 ระดับการดำเนินงานตามวงจร Plan-Do-Check-Act (PDCA) คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผลการประเมินคุณภาพการศึกษา คณะเกษตรศาสตร์ ปีการศึกษา 2547-49 จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ องค์ประกอบที่ น้ำหนัก ความสำคัญ ปีการศึกษา 2547 2548 2549 1: ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ ฯ 5 80.0 82.0 2: การเรียนการสอน 30 84.0 85.3 3: การพัฒนาและสนับสนุนนักศึกษา 10 87.0 90.0 4: การวิจัย 20 93.0 5: การบริการวิชาการแก่ชุมชน 88.0 6: การทำนุบำรุงศิลปะฯ 94.0 7: การบริหารและการจัดการ 8: การเงินและงบประมาณ 86.0 9: ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ คะแนนรวม 100 87.6 88.4 88.6 คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คะแนนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ทุกคณะ ปีการศึกษา 2547 - 2549 กลุ่มวิชา ลำดับที่ คณะ ปีการศึกษา 2547 2548 2549 กลุ่มสาขาวิชา วิทยาศาสตร์สุขภาพ 1 คณะแพทยศาสตร์ 83.3 85.0 90.5 2 คณะทันตแพทยศาสตร์ 79.5 83.2 84.4 3 คณะเภสัชศาสตร์ 88.7 89.7 90.3 4 คณะเทคนิคการแพทย์ 83.0 87.7 88.5 5 คณะสัตวแพทยศาสตร์ 75.6 80.8 86.2 6 คณะพยาบาลศาสตร์ 89.2 91.2 93.2 วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี 7 คณะวิทยาศาสตร์ 83.7 84.5 85.6 8 คณะวิศวกรรมศาสตร์ 80.1 85.8 90.0 9 คณะเกษตรศาสตร์ 87.6 88.4 88.6 10 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 79.9 83.8 11 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ 82.0 86.4 12 วิทยาลัยศิลปะ สื่อและเทคโนโลยี - 64.6 75.0 สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ 13 คณะมนุษยศาสตร์ 82.4 84.1 86.1 14 คณะสังคมศาสตร์ 76.8 15 คณะศึกษาศาสตร์ 82.3 79.1 16 คณะบริหารธุรกิจ 82.6 84.2 17 คณะเศรษฐศาสตร์ 88.9 18 คณะวิจิตรศิลป์ 84.3 87.3 19 คณะการสื่อสารมวลชน 81.1 20 คณะนิติศาสตร์ 73.3 57.1 21 คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ 74.2 78.2 คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ตำแหน่งในการแข่งขันของคณะเกษตรศาสตร์ ระดับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีการ ศึกษา อันดับจาก 21 คณะ ใน มช. อันดับจาก 6 คณะ กลุ่มสาขาวิชา วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ผลการประเมิน % 2547 3 1 87.6 (ดีมาก) 2548 88.4 (ดีมาก) 2549 7 2 88.6 (ดีมาก) คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ www.agri.cmu.ac.th
ตำแหน่งในการแข่งขันของคณะเกษตรศาสตร์ ระดับชาติ ปี 2548 อยู่ในกลุ่ม 5 อันดับแรกของประเทศ ของคณะที่มีศักยภาพทั้งด้านการเรียนการสอน และด้านการวิจัย ที่มา: ผลการจัดอันดับ (Ranking) ศักยภาพมหาวิทยาลัยไทย 50 อันดับ โดยสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กระทรวงศึกษาธิการ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ www.agri.cmu.ac.th
หน้าที่หลัก ของหน่วยงาน QA วางแผนการ-กำหนดปฏิทิน/กิจกรรม-ดำเนินงาน ด้านประกันคุณภาพการศึกษาและควบคุมภายในของคณะ ประสานงานระหว่างคณะ/ภาควิชา/หน่วยงาน จัดทำคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาของคณะ จัดทำรายงานประจำปี (SAR) รวบรวมข้อมูล สำหรับวิเคราะห์ตัวชี้วัดผลดำเนินงาน (Key Performance Indicators: KPI) ระดับคณะ เพื่อรับการประเมินจาก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กระทรวงศึกษาธิการ คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. ตรวจประเมิน 5 ปีครั้ง (รวมจำนวนรายงาน ~ 40 เล่ม และตัวชี้วัด 146 ตัว) คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หน้าที่หลัก ของหน่วยงาน QA (ต่อ) จัดทำรายงานผลการบริหารงาน สำหรับการประเมินคณบดี (รวมจำนวนรายงาน ~ 5 เล่ม) จัดทำรายงานการควบคุมภายในประจำปีของคณะ เพื่อส่งให้มหาวิทยาลัย สำหรับการประเมินตามระเบียบสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) (รวมจำนวนรายงาน ~ 6 เล่ม) จัดทำสารสนเทศและทำหน้าที่บริหารจัดการฐานข้อมูลการประกันคุณภาพการศึกษาคณะ โดยจัดทำเว็บไซต์ e-QA (http://web.agri.cmu.ac.th/qa/) จัดสัมมนา ฝึกอบรม และดูงาน ด้านประกันคุณภาพการศึกษา สนับสนุนและให้คำปรึกษาด้านการวิเคราะห์ วิจัยทั่วไป วิจัยสถาบัน แก่บุคลากร นักศึกษา และบุคคลทั่วไป คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การเผยแพร่ข่าวสาร http://web.agri.cmu.ac.th/qa/ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สากันย์ จิราพร ขอบคุณ Team Work QA คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่