ผลการ ดำเนินงาน โดย : อรุณี เจริญ ศักดิ์ศิริ. มติ คชก. 14 พย. 50 กรมการค้า ภายใน กรมบัญชีกลาง แจ้งให้ทำ 20 พย. 50 ขอเบิกเงิน 8 มค.51 โอนเงินให้ 17 มค.51.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
Advertisements

 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อ
หน้าที่ความรับผิดชอบ
พัฒนาคุณภาพงานและจดทะเบียนตั้งกลุ่ม รุ่นที่ 1 – 6 (ปีที่ 2)
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
Graduate School Khon Kaen University
เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ คชก.
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
ผลการดำเนินงาน กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
หลักการและเหตุผล. โครงการลงบัญชีเงินยืมทดรองจ่ายด้วยระบบคอมพิวเตอร์ หน่วยคลัง งานคลังและพัสดุ คณะทรัพยากรธรรมชาติ
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
การจัดซื้อ – จัดจ้าง และสรรหาผู้รับจ้าง
โครงการตามแผนปฏิบัติงาน
โครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตร ในจังหวัดชายแดนภาคใต้
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
งานกลุ่มจัดตั้งและ ส่งเสริมสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน พฤษภาคม 2551.
สรุปการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
ทิพาพร เสถียรศักดิ์พงศ์
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
มาตรการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2554/55
การประชุมความคืบหน้าโครงการไตรภาคี
โครงการ "ฟันเทียมพระราชทาน"
กลุ่มที่ 1.
การจัดเก็บข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
กรมฯอบรมการสร้างวิทยากรระดับจังหวัด
- กรมส่งเสริมการเกษตร -
เลขที่ 113 หมู่ที่ 3 ต.หนองโดน อ.หนองโดน จ. สระบุรี
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
สำนักงานเกษตรอำเภอนาด้วง จังหวัดเลย
การดำเนินงานปรับปรุงข้อมูลทะเบียนเกษตรกร (จำแนกกิจกรรมการเกษตรรายแปลง)
กลุ่ม ก้าวไกลกับไอทีที่ ศบกต.
การขับเคลื่อนการจัดทำสมุดทะเบียนเกษตรกร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555
สำนักงานเกษตรจังหวัด
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
โครงการขึ้นทะเบียนการปลูก พืชเศรษฐกิจหลัก 3 ชนิด
การออกใบรับรองเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวนาปี ปีการผลิต 2551 /52
1 การจัดเก็บและใช้ประโยชน์ข้อมูล โครงการมาตรการแทรกแซงตลาดมัน สำปะหลัง ออมทรัพย์ ไวยากรณ์วิลาศ ผอ. กลุ่มวิเคราะห์และวางระบบข้อมูล ศูนย์สารสนเทศ.
การวางแผนการแจ้งข้อมูลเกษตรกร โครงการมาตรการแทรกแซง ตลาดมันสำปะหลัง
กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
ITกับโครงการ Food safety
ระบบเตือนภัยศัตรูพืช
รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ฝ่ายวิชาการ
การติดตามประเมินผลและรายงาน_Louis_500227
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
อบรมคณะกรรมการ ตสน. ระดับกลุ่มเครือข่าย
ความคิดเห็นที่มีต่อการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยี ฐานเทคโนโลยี บรรยวัสถ์ สินทรัพย์
กลุ่มที่ 4.
ห้วงเวลาดำเนินการเพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีระดับตำบล และระดับจังหวัด 18 ก. พ. – 31 มี. ค. 55 รับลงทะเบียน กศน./ พช. 1 มิ. ย. 55 ประกาศรายชื่อสมาชิกฯ.
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ชี้แจงแนวทาง การช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ในฤดูการผลิต ปี 2557/58
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
1 Quality Improvement Tract สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ( องค์การมหาชน )
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
ชี้แจงหลักเกณฑ์การโอนเงิน ระเบียบการเบิก-จ่ายงบประมาณ
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช
ทางการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทย
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
1 การพัฒนาระบบการ ปฏิบัติงาน ของสำนักงาน พาณิชย์จังหวัด โดย รองปลัดกระทรวงพาณิชย์ ( นาง ไพเราะ สุดสว่าง ) วันอาทิตย์ที่ 22 มิถุนายน 2551 ณ โรงแรมริชมอนด์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลการ ดำเนินงาน โดย : อรุณี เจริญ ศักดิ์ศิริ

มติ คชก. 14 พย. 50 กรมการค้า ภายใน กรมบัญชีกลาง แจ้งให้ทำ 20 พย. 50 ขอเบิกเงิน 8 มค.51 โอนเงินให้ 17 มค.51 ส่งคำรับรองผู้ เบิกเงิน 18 มีค. 51 กรม ส่งเสริม การเกษตร

ส่วนกลาง เปิดบัญชี ทำคู่มือ / แบบฟอร์ม โอนเงิน โปรแกรม รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ สรุป ส่งข้อมูลกลับ รายงานผล จังหวัด เปิดบัญชี พิมพ์ แบบฟอร์ม จัดเก็บข้อมูล บันทึกข้อมูล ส่งข้อมูล ปิดบัญชี แจ้งการใช้ เงิน ข้อมูล สมบูรณ์ 28 พย.50 แจ้ง โครงการ ส่งคู่มือ / แบบฟอร์ม 9 มค.51 (33 จังหวัด ) 20 กพ.51 (9 จังหวัด ) 27 กพ.51 (3 จังหวัด ) โอน เงิน 7 กพ.51 แจ้ง โปรแกรม 14 กพ.51 ให้รายงาน 2 เมย. 51 แจ้ง ขยายเวลา 4 กค.51 แจ้งให้ รายงานและปิด บัญชี - ใช้อ้างอิง - ดำเนินการ จดต่อ

พย. 50 มค. กค.กค.กค.กค. มิย. พค.พค.พค.พค. เม ย มี ค. กพกพ.กพกพ. ตค.ตค.ตค.ตค. กย.กย.กย.กย. สค. ระยะเวลารับจำนำ แจ้งโครงการ / ให้เปิด บัญชี / ส่งคู่มือ ได้รับเงิน โอน แจ้งโปรแกรม บันทึกข้อมูล พิมพ์ แบบฟอร์ม เก็บข้อมูล บันทึกข้อมูลลงโปรแกรม, ส่งข้อมูลตามระบบ ชี้แจงร่วมกับงานจด ทะเบียนกก. แจ้งให้ รายงาน แจ้งให้รายงานและปิด บัญชี ส่วนกล าง ภูมิภาค ปิดบัญชี ปี 51 พย. 50 มค. กค.กค.กค.กค. มิย. พค.พค.พค.พค. เม ย มี ค. กพกพ.กพกพ. ตค.ตค.ตค.ตค. กย.กย.กย.กย. สค.

สรุปรวมข้อมูลโครงการแทรกแซง ฯ ปี 2550/51 จังหวัด จำนวนผู้ปลูกงบประมาณ ร้อยละของ ผลงาน เป้าห มาย ศสทจังหวัดโอนให้ใช้จ่ายคนเงิน กาญจ นบุรี 11,8195, ,80047 ราชบุรี 5,2652,4042,51736,90048 เพชรบุ รี , สุพรร ณบุรี 1,425291,60510, รวม 19,0888,0344,147133,800 ยังไม่ได้รับแจ้ง จากจังหวัด ข้อมูลจากหนังสือแจ้งกสก แบบฟอร์ม printout ศสท

ผลการ ดำเนินงาน

1. ปัญหาการบริหาร งบประมาณ งบประมาณที่จัดสรรไม่เพียงพอ ไม่สอดคล้องกับ จำนวนเกษตรกร ส่วนกลางควรเปิดกว้างในการบริหารงบประมาณ งบประมาณที่เหลือจ่าย ควรเปิดกว้างให้จังหวัดนำ เงินไปดำเนินการ ในเรื่องเกี่ยวกับมันสำปะหลังได้ กรมฯโอนเงินล่าช้า ทำให้ดำเนินการไม่ทันตาม แผน จำนวนเป้าหมายเกษตรกรไม่ถูกต้อง ควรสอบถาม ข้อมูลที่แท้จริงจากจังหวัด การใช้เงินไม่ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ จะมีการ ตรวจสอบหรือ ? ไม่ใครรับผิดชอบ หากไม่มีเงินโอนไปยังจังหวัด ก็ไม่ควรแจ้งให้ จังหวัดดำเนินการ ไม่มีงบประมาณในการประชาสัมพันธ์ จาก จังหวัด

2. ปัญหา การสร้างความเข้าใจใน การดำเนินงาน ไม่มีการประชุมชี้แจง ทำความเข้าใจ ให้กับเจ้าหน้าที่ภูมิภาค การจดทะเบียนผู้ปลูกมันสำปะหลังมี เกษตรกรมาจดทะเบียนน้อย จังหวัดไม่ทราบว่าการจดทะเบียนมี ประโยชน์ ทำไมต้องส่งข้อมูลให้ ส่วนกลาง จาก จังหวัด

3. ปัญหาการบันทึก ส่งข้อมูล โปรแกรม และแบบฟอร์มการเก็บ ข้อมูล แบบฟอร์มไม่ชัดเจน อ่านแล้วสับสน ส่วนกลางควรพิมพ์แบบฟอร์มเอง และส่งจังหวัดให้ เพียงพอ แบบจัดเก็บข้อมูลไม่เพียงพอ ไม่สอดคล้องกับ จำนวนเกษตรกรในตำบล ส่วนกลางไม่ชี้แจงโปรแกรม เกิดความคลาด เคลื่อน การบันทึกข้อมูลจึงผิดพลาด ควรเขียนระบบโปรแกรมให้จัดเก็บข้อมูลเกษตรกร ทุกราย ความกว้างของช่องในรายงานมีความกว้างไม่ เพียงพอ ควรเรียกเจ้าหน้าที่ยุทธศาสตร์และสารสนเทศ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลมารับการชี้แจงการบันทึก ข้อมูล ทำไม่เสร็จเพราะเจ้าหน้าที่มีงานบันทึกข้อมูล เกษตรกรตามนโยบายกรม เช่นทะเบียนเกษตรกร จาก จังหวัด

4. ปัญหาการประสานงานระหว่าง ส่วนกลางกับจังหวัด ประสานงานน้อยมาก การประสานระหว่างจังหวัดกับอำเภอ ไม่มีปัญหา มีปัญหาเกี่ยวกับการส่งข้อมูล ส่งแล้ว ไม่ได้รับ ผู้รับผิดชอบ โดยตรงติดต่อไม่ค่อยได้

5. ปัญหาการสอบถามข้อมูลจาก เกษตรกร เกษตรกรบางส่วนมีภูมิลำเนาอยู่นอก พื้นที่ปลูกมันจึงไม่พบตัว เกษตรกร แจ้งการดำเนินการหลังจากที่เกษตรกร จำหน่ายผลผลิตไปแล้วเกษตรกรไม่ สนใจจดทะเบียน เพราะราคามันสูงกว่า ราคารับจำนำ การประเมินคุณภาพแป้งไม่ได้วัดจาก คุณภาพที่แท้จริง ลานมันไม่ให้ความร่วมมือในการให้ เจ้าหน้าที่เข้าไปตรวจสอบ การจัดคิวซื้อไม่โปร่งใสยุติธรรม

สวัสดี