การใช้แมลงศัตรูธรรมชาติควบคุม เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท
Advertisements

การพัฒนาโครงการวิจัย vs การจำแนกประเภทงานวิจัย
ทะเบียนเกษตรกร กรมส่งเสริมการเกษตร.
สรุปผลการศึกษาผลตอบแทนการปลูกยางพาราในรอบปี 2555
รายงานการระบาดศัตรูพืช
ต้นทุน(บาท/กิโลกรัม)
เอกสารเคมี Chemistry Literature
Cryptoleamus montrouzieri
การจัดการหนอนใยผักแบบบูรณาการ
พฤติกรรมการวางไข่ของแมลงวันผลไม้ :Bactrocera dorsalis
สำนักวิจัยและพัฒนา การเงินและบัญชี.
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
โครงงานด้านวิศวกรรม การศึกษาปริมาณการใช้น้ำในการปลูกข้าวแบบเปียกสลับแห้ง.
รายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
What is the optimum stocking rate ?
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเขื่อนปากมูล
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
สภาพทั่วไป ด้านปฏิรูปการให้บริการ / สนับสนุน (Management Reform) ที่โครงการวัตถุประสงค์ เป้าหม าย 1212 ฝึกอบรมการเพิ่ม ผลผลิต มันฯ, ข้าว, โค, บริหาร วิสาหกิจฯ.
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
************************************************
ผู้เข้าร่วมสัมมนา รวม ๒๐๕ คน
แตนเบียนไข่ไตรโครแกรมม่า Trichogramma spp.
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
การประยุกต์ใช้ภูมิสารสนเทศ กับการบริหารศัตรูพืช
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานให้กับเกษตรกร ๒.เพื่อให้เกษตรกรสามารถจัดการศัตรูพืชได้ด้วยตัวเองอย่างยั่งยืน.
การควบคุมเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
วิลาวัลย์ วงษ์เกษม ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว
หนอนหัวดำมะพร้าว Opisina arenosella Coconut black headed caterpillar
รายงานสถานการณ์การระบาดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน สิงหาคม 2554
นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดชัยนาท
ครั้งที่ 1 วันที่ กุมภาพันธ์ 2556
น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.
พืชเศรษฐกิจ อำเภอเต่างอย
การป้องกันกำจัดหอยทาก
สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งกระจาน ประจำเดือนพฤศจิกายน 2555
1 การจัดเก็บและใช้ประโยชน์ข้อมูล โครงการมาตรการแทรกแซงตลาดมัน สำปะหลัง ออมทรัพย์ ไวยากรณ์วิลาศ ผอ. กลุ่มวิเคราะห์และวางระบบข้อมูล ศูนย์สารสนเทศ.
เทคนิคและวิธีการปลูกผัก
งานวิจัยของภาควิชากีฏวิทยา
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
การเปลี่ยนแปลงรูปร่างและการเจริญเติบโตของแมลง
ตามยุทธศาสตร์การพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ครั้งที่ 1/2556
1 5 มีนาคม 2552 ดร. อภิชาติ พงษ์ ศรีหดุลชัย เครือข่าย สารสนเทศ ข้าวไทยใน อนาคต.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
หลักการและเหตุผล. - ปี หนอนกออ้อยระบาดขยาย
โครงการศึกษาเศรษฐกิจ การผลิตและการตลาดไหมไทย
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
สารบัญ ระยะเวลาการวางไข่ 3 ตัวหนอน 4 ดักแด้ 5 ตัวเต็มวัย 6.
แมลงสังคม แมลงชนิดเดียวกันมีการอาศัยในรังเดียวกัน
การเพาะเลี้ยงแมลงห้ำ
Welcome to .. Predator’s Section
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล(Brown planthopper)
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
5. การทาบกิ่ง แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
บทปฏิบัติการที่ 16 ระบบการหายใจ (Respiratory System)
การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้แมลงศัตรูธรรมชาติควบคุม เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง อัมพร วิโนทัย สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร 2 เมษายน 2554 โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพ

เพลี้ยแป้งมันสำปะหลังชนิดสีชมพู

การแพร่กระจายตัว

การแพร่กระจายตัว

ความเสียหาย

ศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศ แมลงช้างปีกใส: ตัวอ่อน

ศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศ ผีเสื้อ Spalgis epius: หนอน

ศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศ ผีเสื้อ Spalgis epius: ดักแด้

ศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศ ผีเสื้อ Spalgis epius: ตัวเต็มวัย

ด้วงเต่าตัวห้ำ Brumoides sp. ระยะไข่ 5.63 วัน ตัวอ่อนมี 5 วัย ระยะตัวอ่อน 15.67 วัน ระยะดักแด้ 6.00 วัน ระยะตัวเต็มวัย 39.28 วัน ระยะไข่ - ตัวเต็มวัย 43 วัน ตัวเต็มวัยกินเพลี้ยแป้ง 18.64 ตัว/วัน ตลอดชีวิตตัวเต็มวัย 1 ตัวกินเพลี้ยแป้ง 783 ตัว

ด้วงเต่าลายหยัก ด้วงเต่าสีส้ม ด้วงเต่าลายหยัก ด้วงเต่าสีส้ม ปริมาณเพลี้ยแป้งที่กิน เพศผู้ 7.93 ตัว/วัน เพศเมีย 6.77 ตัว /วัน เพศผู้ 9.91 ตัว/วัน เพศเมีย 8.23 ตัว /วัน

แตนเบียน Acerophagus sp.

ศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศ

ศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศ

ความเสียหายในแอฟริกา

ความเสียหาย ยอดหงิก ผลผลิตลดลงมากถึง 80% ขาดแคลนท่อนพันธุ์ ผลผลิตเฉลี่ย 1.28 ตัน/ไร่

วงจรชีวิตเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังสีชมพู ไม่มีเพศผู้ ทุกตัวเป็นเพศเมีย วางไข่ได้เมื่อเป็นตัวเต็มวัย

คุณลักษณะทางชีววิทยาของเพลี้ยแป้งสีชมพู พันธุ์ อัตราการขยายพันธุ์ ใน 1 ชั่วอายุ (Ro ) ชั่วอายุ (TC ) Bitter, improved, resistant 357.44 39.80 Bitter, local, susceptible 467.91 40.21 Sweet, local, susceptible 414.68 37.67

ขั้นตอนการนำเข้า ขอ Import Permit นำเข้าศัตรูธรรมชาติ ทดสอบความปลอดภัยในการนำมาใช้ ในห้องปฏิบัติการกักกัน สรุปผลการศึกษา เสนอกรมวิชาการเกษตร

ขั้นตอนการนำเข้า (ต่อ) ขอ Release Permit เพาะเลี้ยงเป็นปริมาณมาก นำออกปล่อยในภาคสนาม ประเมินผลโครงการ รายงานกรมวิชาการเกษตร

แตนเบียนเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังสีชมพู เพศเมีย

เพศผู้

เป็นตัวห้ำ

เป็นตัวเบียน ระยะเวลาตั้งแต่วางไข่ – มัมมี่ = 9 – 10 วัน ระยะเวลาตั้งแต่วางไข่ – มัมมี่ = 9 – 10 วัน วางไข่ – ตัวเต็มวัย = 17 – 21 วัน เป็นตัวเบียน

ปลูกมันสำปะหลัง: ใช้ต้นมันอายุอย่างน้อย 45 วัน

เลี้ยงเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังสีชมพู: เพลี้ยอายุอย่างน้อย 21 วัน เลี้ยงเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังสีชมพู: เพลี้ยอายุอย่างน้อย 21 วัน

การเลี้ยงแตนเบียน

การเพาะเลี้ยงบนผลฟักทอง: ใช้ได้ดีเมื่อมีเพลี้ยในไร่มาก ๆ

เก็บยอดมันสำปะหลัง ที่มีเพลี้ยแป้งจากในไร่ นำมาวางบนตะแกรง ซ้อนทับด้วยฟักทอง ทิ้งไว้ 5-7 วัน เพลี้ยจะย้ายจากยอดมันมาอยู่บนฟักทอง

การปล่อยในแปลงทดสอบ

เก็บยอดมันสำปะหลังที่มีเพลี้ยแป้ง จากแปลงที่ปล่อยแตนเบียนแล้ว 1 เดือน การสุมยอด เก็บยอดมันสำปะหลังที่มีเพลี้ยแป้ง จากแปลงที่ปล่อยแตนเบียนแล้ว 1 เดือน

การสุมยอด: นำมากองรวมกันในมุ้ง

การสุมยอด: จะดูดเก็บแตนเบียนได้ในวันรุ่งขึ้น

การสุมยอด

จำนวนแตนเบียนที่ได้จากการสุมยอด 50 ยอด วัน/เดือน/ปี เพศเมีย (ตัว) เพศผู้ (ตัว) รวม (ตัว) 6 เม.ย. 53 640 1,840 2,480 8 เม.ย. 53 1,790 1,990 3,789 10 เม.ย. 53 1,055 2,355 3,510 12 เม.ย. 53 650 1,300 14 เม.ย. 53 700 1,100 1,800 รวม 4,944 7,935 12,879 จำนวนแตนเบียนเฉลี่ยต่อยอด 257.6

การประเมินผล: ดูจากการปรากฎตัว

การประเมินผล

การประเมินผล: ดูจากยอดที่แตกออกมาใหม่

การส่งมอบโดยหน่วยเคลื่อนที่เร็ว

การส่งมอบทางเครื่องบินเล็ก