โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กว่าจะมาเป็น … เครือข่าย
Advertisements

โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามกุฎราชกุมาร นางลาวัลย์ ฉัตรวิรุฬห์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตร.
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
โครงการพัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิตเกษตรกรสมาชิก
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดกระบี่
หลักเกณฑ์การคัดเลือก 1. มีกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ที่ประสบผลสำเร็จ
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
อัญชลีพร พันธุ์วิไล หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
โครงการเทียบเท่าผลผลิต ประจำปีงบประมาณ 2550
ขั้นตอน/วิธีการปฏิบัติตามคู่มือสำนักงานคณะกรรมการกระจายอำนาจ ฯ
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเพิ่มพูน มาประกอบ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลช้างทูน อำเภอบ่อ ไร่ จังหวัดตราด.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ นายสมเกียรติ วิจิตรประเสริฐ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร สัมมนาเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการเกษตร.
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง ปี 2550 กรมส่งเสริมการเกษตร
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานให้กับเกษตรกร ๒.เพื่อให้เกษตรกรสามารถจัดการศัตรูพืชได้ด้วยตัวเองอย่างยั่งยืน.
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดกระบี่ (พืชสวน)
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน สิงหาคม 2554
โครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
การถ่ายโอนภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการบริหารการจัดการศัตรูพืชและการเขตกรรมเพื่อลดความเสี่ยงให้กับเกษตรกร สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร.
การดำเนินงาน และพัฒนายุวเกษตรกร
โครงการ ฝึกอาชีพการเกษตรเฉพาะด้าน ปี 51
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ 2553 สำนักงานประมงจังหวัดอุตรดิตถ์ ณ เดือนสิงหาคม 2553 สำนักงานประมงจังหวัด อุตรดิตถ์ ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2553 เสนอ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตร.
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
โครงการลดปัญหาสุขภาพจากระบบสืบพันธุ์
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
แผนการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ ๒๕๕๓ สำนักงานประมงจังหวัดอุตรดิตถ์ เสนอ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เขต ๑๗ (นายทฤษดี ชาวสวนเจริญ) ณ วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลและ อำเภอทุ่ง ช้าง จังหวัดน่าน ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย จิตร เสียงกอง เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
หน่วย เคลื่อนที่เร็ว วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมสถานการณ์ ศัตรูพืชและลดปัญหาการระบาด ได้ทันต่อเหตุการณ์ เป้าหมาย ครอบคลุมพื้นที่การระบาด ศัตรูพืช 76 จังหวัด.
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ ส่วนพัฒนาการเพาะเลี้ยงและจัดการพันธุ์พืช สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร

ความเป็นมา นโยบายส่งเสริมการใช้พืชพันธุ์ดี บทบาทของ ศบกต. โครงการ 1 ฟาร์ม 1 ตำบล ศูนย์เรียนรู้ เศษฐกิจพอเพียง ศูนย์เรียนรู้ พันธุ์พืชอำเภอ คัดเลือกศูนย์หลัก - เป็นศูนย์กลางเชื่อมโยงพันธุ์พืชอำเภอ และศบ.กต.

วัตถุประสงค์ (พืชประจำถิ่นเพื่อการอนุรักษ์ พืชเศรษฐกิจ และพืชอาหาร) สนับสนุนให้ชุมชนสร้างแหล่งรวบรวมพันธุ์ดี (พืชประจำถิ่นเพื่อการอนุรักษ์ พืชเศรษฐกิจ และพืชอาหาร) ศูนย์กลางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้านการจัดการ พันธุ์พืช ผลิต ขยาย และกระจายพันธุ์

เป้าหมาย - จำนวน 82,810 ราย สนับสนุนพืชพันธุ์ดี จัดตั้งศูนย์ฯ จำนวน 223 ศูนย์ ใน 72 จังหวัด ถ่ายทอดความรู้การผลิตพืชแก่เกษตรกร - จำนวน 82,810 ราย สนับสนุนพืชพันธุ์ดี - เพื่อการเรียนรู้ 1,000 ต้น/ศูนย์ฯ - เพื่อการยังชีพ 30,400 ต้น/ศูนย์ฯ

กิจกรรม/งบประมาณ โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ 1. คัดเลือก และฝึกอบรมเกษตรกรแกนนำ (อบรมแกนนำ 2 วัน ๆ ละ 200 บาท) 2. ผลิตเอกสาร คำแนะนำ (เอกสารเล่มละ 15 บาท) 3. สนับสนุนพันธ์พืช เพื่อการเรียนรู้ (223 ศูนย์ ๆ ละ 1,000 ต้น ๆ ละ 10 บาท) เพื่อการยังชีพ (223 ศูนย์ ๆ ละ 30,400 ต้น ๆ ละ 3 บาท = 20,337,600 บาท) 4. สนับสนุนวิทยากร ให้ความรู้ (วิทยากรพืชสวน 24 คน เพาะเลี้ยง 20 คน รวม 44 คน ๆ ละ 7 วัน ๆ ละ 1,100 บาท) 5. สรุป และประเมินโครงการ

วิธีดำเนินงาน 1. คัดเลือกศูนย์ฯ และเครือข่าย

ศูนย์ฯ (หลัก) เครือข่าย เครือข่าย เครือข่าย เกษตรกรแกนนำ 3 - 5 ราย เกษตรกรแกนนำ 3 - 5ราย เกษตรกร 90 ราย ศูนย์ฯ (หลัก) เกษตรกรแกนนำ 3 - 5 ราย เกษตรกร 90 ราย เครือข่าย เกษตรกรแกนนำ 3 - 5ราย เกษตรกร 90 ราย เครือข่าย เกษตรกรแกนนำ 3 - 5ราย เกษตรกร 90 ราย

วิธีดำเนินงาน (ต่อ) 2. คัดเลือกเกษตรกรแกนนำในศูนย์เรียนรู้ฯ ศูนย์ละ 10 - 15 ราย (แล้วแต่ขนาดของจังหวัด) 3. จังหวัดจัดเวทีหาความต้องการชนิดพันธุ์พืช และหลักสูตรฝึกอบรมสำหรับพันธุ์พืชเพื่อการ เรียนรู้แก่เกษตรกรแกนนำในเรื่อง - ด้านการจัดการพันธุ์ - ผลิต/ขยาย และกระจายพันธุ์ - การบริหารจัดการศูนย์เรียนรู้ฯ

วิธีดำเนินงาน (ต่อ) 4. ศูนย์ปฏิบัติการ (พืชสวน) สนับสนุน - พันธุ์พืชตามความต้องการเพื่อการเรียนรู้ - วิทยากรถ่ายทอดความรู้ด้านการผลิต/ขยายพันธุ์พืช 5. เกษตรกรแกนนำของศูนย์ฯ ดำเนินการ ให้คำแนะนำในการจัดการพันธุ์ การผลิต และ ขยายตลอดจนการบริหารจัดการศูนย์ฯ ให้แก่ เกษตรกรสมาชิกในแต่ละศูนย์ฯ และเครือข่าย

วิธีดำเนินงาน (ต่อ) 6. ศูนย์ปฏิบัติการ (พันธุ์พืชเพาะเลี้ยง) สนับสนุน - พันธุ์พืชเพื่อการประกอบอาชีพแก่เกษตรกร ผู้ประสบภัย 82,810 ราย (ยังชีพ) - วิทยากรถ่ายทอดความรู้การผลิตพืชพร้อมมอบ พันธุ์พืชเพื่อการยังชีพ

วิธีดำเนินงาน (ต่อ) 7. จังหวัดผลิตเอกสารคำแนะนำการผลิตพืช ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงสนับสนุนให้แก่ เกษตรกรในขณะเดียวกับการสนับสนุนพันธุ์พืช เพื่อการยังชีพ 8. สรุป และรายงานผลการปฏิบัติงาน

แผนผังการดำเนินงานโครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ ศูนย์ฯ (พืชสวน) สำนักงานเกษตรจังหวัด ศูนย์ฯ (พันธุ์พืชเพาะเลี้ยง) สำนักงานเกษตรอำเภอ ผลิตขยายพันธุ์พืชผัก สมุนไพรสนับสนุนตามความต้องการ ของเกษตรกร จัดหา/ผลิตขยายพันธุ์พืช ตามต้องการของศูนย์ฯ คัดเลือกศูนย์ฯ /เครือข่าย/เกษตรกรแกนนำ จัดเวที คัดเลือกพันธุ์พืช หาความต้องการฝึกอบรม วิทยากรถ่ายทอดความรู้การผลิต/ขยายพันธุ์พืชเพื่อการยังชีพ แก่เกษตรกรในโครงการและเกษตรกรผู้ประสบอุทกภัย สนับสนุนวิทยากร ถ่ายทอดความรู้และฝึก ทักษะการผลิต/ขยาย และพัฒนาพันธุ์พืชเพื่อ การอนุรักษ์ จัดทำเอกสารคำแนะนำการผลิตพืช ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ส่งมอบพันธุ์พืชเพื่อการ ยังชีพ สนับสนุนเกษตรกรให้สนง.จังหวัด จัดฝึกอบรมความรู้ให้แก่เกษตรกรแกนนำ การคัดเลือกพืช/ผลิตขยายพันธุ์พืช การบริหารจัดการ ส่งมอบพันธุ์พืชเพื่อ การเรียนรู้ให้กับศูนย์ฯ เกษตรกรในโครงการฯ เกษตรกร ผู้ประสบอุทกภัย กระจายพันธุ์และจัดตั้งกองทุนหมุนเวียนพืช