สำนักงานเกษตรอำเภอนาด้วง จังหวัดเลย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ขั้นตอนการจัดตั้งสภาองค์กรชุมชนตำบล
Advertisements

สำนักบริหารงานวิรัชกิจ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ที่ว่าการอำเภอปะนาเระ
โครงการยกระดับมาตรฐานฟาร์มเพาะเลี้ยงปลานิลเพื่อการส่งออก
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับแผนชุมชน
จังหวัดนครปฐม.
กลุ่ม ๓ ชื่อ กลุ่ม....สามซ่าๆๆ.
กลุ่มที่ 1.
การจัดเก็บข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
จุดอ่อน คณะกรรมการศูนย์ฯ ได้รับเบี้ยประชุมน้อย ขาดสวัสดิการ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเพิ่มพูน มาประกอบ
กรมฯอบรมการสร้างวิทยากรระดับจังหวัด
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ภารกิจถ่ายโอน บริการข้อมูลและเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลการ ผลิต การตลาด เทคโนโลยี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลช้างทูน อำเภอบ่อ ไร่ จังหวัดตราด.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
ศูนย์ส่งเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ ๑ จังหวัดชัยนาท
ระบบส่งเสริมการเกษตร
กลุ่ม ก้าวไกลกับไอทีที่ ศบกต.
คำอธิบายเกษตรหมู่บ้าน
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
สำนักงานเกษตรจังหวัด
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
โครงการขึ้นทะเบียนการปลูก พืชเศรษฐกิจหลัก 3 ชนิด
การดำเนินงาน และพัฒนายุวเกษตรกร
สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งกระจาน
ผลการ ดำเนินงาน โดย : อรุณี เจริญ ศักดิ์ศิริ. มติ คชก. 14 พย. 50 กรมการค้า ภายใน กรมบัญชีกลาง แจ้งให้ทำ 20 พย. 50 ขอเบิกเงิน 8 มค.51 โอนเงินให้ 17 มค.51.
การวางแผนการแจ้งข้อมูลเกษตรกร โครงการมาตรการแทรกแซง ตลาดมันสำปะหลัง
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
บริการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช
(พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว)
การขึ้นทะเบียนผู้ปลูกพืชเศรษฐกิจหลัก เพื่อโครงการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2554/55 กรมส่งเสริมการเกษตร.
3.การจัดทำงบประมาณ.
ผบ. ปภ. ชาติ ( รมว. มท.) หรือ ผอ. กลาง ( อ. ปภ.) ผอ. จังหวัด ( ผว. จว.) แผน ปภ. จว./ แผนปฏิบัติการป้องกัน และแก้ไขปัญหา ภัยแล้ง ก่อนเกิดเหตุ ขณะเกิดเหตุ
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
การบริหารราชการแผ่นดิน
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
การดำเนินงานยุวเกษตรกรอย่างไร ให้ประสบผลสำเร็จ
นายกรัฐมนตรี กรณีเกิดสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง (ความรุนแรงระดับ 4)
ความร่วมมือไทย-ลาว ในเรื่อง Contract Farming (CF)
รายงานผลการดำเนินงาน ประจำเดือนมกราคม ประชุมหัวหน้าส่วนราชการอำเภอ / กำนัน-ผู้ใหญ่บ้าน วันที่ 7 มกราคม 2558 ณ ที่ว่าการอำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลดอนดึง อำเภอ บ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายสุ กัญญา หนุนบุญ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักมาตรการป้องกันสาธารณภัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักงานเกษตรอำเภอนาด้วง จังหวัดเลย องค์ความรู้การจัดเก็บข้อมูลด้านการเกษตร

ปัญหาในการดำเนินงานด้านเจ้าหน้าที่ ผลการทดลองปฏิบัติด้านเจ้าหน้าที่ -มีความคลาดเคลื่อนของข้อมูล เนื่องจากเกษตรกรต้องให้ข้อมูล การปลูกพืชก่อนฤดูกาลเพาะปลูก ซึ่ง ต้องมีการคาดคะเน ปลูกพืชชนิดใด จำนวนกี่ไร่ -ขาดงบประมาณในการสนับสนุน การดำเนินงาน จัดตั้งคณะทำงานการจัดการความรู้ระดับอำเภอ

ผลการทดลองปฏิบัติด้านเจ้าหน้าที่ จัดตั้งคณะทำงานจัดการองค์ความรู้ระดับอำเภอ เกษตรอำเภอ และเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบระดับตำบลหารือกับปลัด อบต. เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน และนายก อบต. แต่ละตำบล เพื่อชี้แจงเหตุผลความจำเป็นในการจัดเก็บข้อมูลด้านการเกษตร เนื่องจากบุคลากรมีน้อย จำเป็นที่จะต้องใช้คณะกรรมการศูนย์บริการ และถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรฯ ในการช่วยจัดเก็บข้อมูล ซึ่งจะ มีค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน ประสานงานของบประมาณสนับสนุนในการจัดเก็บข้อมูล

องค์ความรู้ที่ได้ อำเภอนาด้วงมีการจัดเก็บข้อมูลการปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2551/52 โดย ทำหนังสือแจ้งให้กำนัน / ผู้ใหญ่บ้าน ประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรกร ผู้ปลูกพืชฤดูแล้งให้ข้อมูลที่เป็นจริงแก่คณะกรรมการศูนย์ / อาสา สมัครเกษตร ที่สำนักงานเกษตรอำเภอ ได้มอบหมายให้มีการจัดเก็บข้อมูล ข้อมูลที่ได้มีคุณภาพ ถูกต้อง แม่นยำ ทันเวลา องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น รับแนวทางที่นำเสนอไว้ ดำเนินการ

เกษตรกรบางส่วนไม่เข้าใจ ไม่เห็นความสำคัญของทะเบียน ปัญหาของเกษตรกร เกษตรกรบางส่วนไม่เข้าใจ ไม่เห็นความสำคัญของทะเบียน เกษตรกร ไม่เสียสละเวลาที่จะให้ ข้อมูลแก่เจ้าหน้าที่ ทำให้ข้อมูล ล่าช้า และได้ข้อมูลน้อยกว่าความ เป็นจริง

ผลการทดลองปฏิบัติด้านเกษตรกร ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจให้ผู้นำหมู่บ้านและคณะกรรมการบริหารฯ ให้เห็นถึงความสำคัญของการ ขึ้นทะเบียนเกษตรกร เป็นข้อมูลที่มีความจำเป็นต่อตัวเกษตรกรผู้ให้ข้อมูลเอง เพื่อใช้ในการเป็นหลักฐานอ้างอิงหากหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง ที่ต้องการใช้ข้อมูลในการวางแผนพัฒนาอาชีพด้านการเกษตร / การช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยพิบัติ และมาตรการอื่น ๆ ของรัฐ องค์ความรู้ที่ได้ * เกษตรกรที่เห็นความสำคัญในการขึ้นทะเบียนเป็นเกษตรกร * เกษตรกรให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูลแก่เจ้าหน้าที่

ปัญหาด้านเครื่องมือและอุปกรณ์ การบันทึกข้อมูลในระบบ เป็นขั้นตอนที่มีความสำคัญมากในการจัดเก็บข้อมูล เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลมีคนเดียว แต่งานที่ได้รับมอบหมายมีมากจนเกินไป (งานรายงานขึ้นทะเบียนโครงการแทรกแซงข้าวโพด,มันสำปะหลัง,ข้าว, รายงาน ศ.02 รายงานข้อมูลสถาบัน, รายงานประจำเดือน และการนำเสนอ ข่าวขึ้นเว็ปไซด์ ซึ่งงานแต่ละอย่างจำกัดด้วยเวลา เครื่องคอมพิวเตอร์และ เครื่องพิมพ์ใช้งานไม่ได้ในบางครั้ง จึงทำให้เกิดความล่าช้าและเกิดความ ผิดพลาดของข้อมูล

ผลการทดลองปฏิบัติ องค์ความรู้ที่ได้ คณะทำงานระดับอำเภอได้พิจารณาให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบระดับตำบลที่มีความสามารถในการ ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ช่วยแบ่งเบาหน้าที่ในการพิมพ์หนังสือเข้า-ออก ระบบข้อมูลพิมพ์ รายงาน ข้อมูลสถาบัน หรือข้อมูลอื่นที่สามารถทำได้ ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลก่อนส่งพิมพ์ทุกครั้ง องค์ความรู้ที่ได้ เจ้าหน้าที่มีทักษะความสามารถเพิ่มขึ้นในการบันทึกข้อมูล การบันทึกข้อมูลถูกต้อง และรวดเร็วขึ้น

1. ปัญหาด้านช่องทาง / กลไก องค์ความรู้ที่ได้รับ การรับขึ้นทะเบียนเกษตรกรขาดการบูรณาการงานร่วมกัน ของหน่วยงานสังกัดกรมประมงและปศุสัตว์ ในการได้มาซึ่งข้อมูลทำให้ข้อมูลผิดพลาดเกิดการทำงานซ้ำซ้อน และเกษตรกรเบื่อหน่ายทำให้เสียเวลา ล่าช้า ผลการทดลองปฏิบัติ ประสานงานขอข้อมูลหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทำให้ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การขึ้นทะเบียนเกษตรกร และได้ ข้อมูลที่ถูกต้อง แม่นยำและเป็นปัจจุบัน องค์ความรู้ที่ได้รับ เกิดคารบูรณาการ การทำงานร่วมกับหน่วยงานสังกัดกรมประมง และกรมปศุสัตว์

3. ข้อเสนอแนวคิดการดำเนินงาน 2. ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน * มีความคลาดเคลื่อนของข้อมูล - เกษตรกรต้องให้ข้อมูลก่อนการเพาะปลูก - สภาพดินฟ้าอากาศไม่เหมาะสม - ปัจจัยการผลิตขาดแคลน * ขาดงบประมาณในการสนับสนุนการดำเนินงาน 3. ข้อเสนอแนวคิดการดำเนินงาน * ระดับจังหวัดขอความร่วมมือให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดแจ้งท้องถิ่นอำเภอให้องค์การ บริหารส่วนท้องถิ่น อบต.และเทศบาล ตั้งงบประมาณช่วยเหลือด้านการจัดเก็บข้อมูลการ เกษตร และการสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ ทุกปี