ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง ปี 2550 กรมส่งเสริมการเกษตร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามกุฎราชกุมาร นางลาวัลย์ ฉัตรวิรุฬห์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตร.
Advertisements

ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
หลักเกณฑ์การคัดเลือก 1. มีกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ที่ประสบผลสำเร็จ
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
กลุ่มงานส่งเสริม การพัฒนาทุน
กลุ่มที่ 1.
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นางสาววิไลวรรณ ดุลยพัฒน์
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลช้างทูน อำเภอบ่อ ไร่ จังหวัดตราด.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวินัย ไชยอุดม
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
- กรมส่งเสริมการเกษตร -
ระบบส่งเสริมการเกษตร
โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ นายสมเกียรติ วิจิตรประเสริฐ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร สัมมนาเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการเกษตร.
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ระบบส่งเสริมการเกษตร
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน สิงหาคม 2554
โครงการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การดำเนินงาน และพัฒนายุวเกษตรกร
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ฝึกอาชีพการเกษตรเฉพาะด้าน ปี 51
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
สรุปผลการปฏิบัติงาน กศน.ตำบลไทยสามัคคี.
คะแนนรายมาตรฐานที่ = กศน. อ. เสาไห้ 2 = กศน. อ. หนองแซง 3 = กศน. อ. มวกเหล็ก 4 = กศน. อ. แก่งคอย 5 = กศน. อ. ดอนพุด 6 = กศน. หนองโดน 7 = กศน. อ.
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
หัวข้อสัมมนา กลุ่มที่ 3 การฝึกอบรมของ ส. ป. ก. ควร อบรมอย่างไรบ้าง ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ควรจัดทำ หลักสูตรอย่างไร การดำเนินงานพัฒนาเกษตรกรรุ่น ใหม่ จะทำอย่างไร.
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลและ อำเภอทุ่ง ช้าง จังหวัดน่าน ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย จิตร เสียงกอง เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
ผลสัมฤทธิ์ของปราชญ์ : กรณีประเมินผล ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง ปี 2550 กรมส่งเสริมการเกษตร ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง ปี 2550 กรมส่งเสริมการเกษตร

หลักการและเหตุผล ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียงชุมชน เป็นสถานที่ฝึกทักษะความชำนาญด้านการเกษตรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

วัตถุประสงค์ เป็นจุดเรียนรู้ ด้านการเกษตร ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้เกษตรกรได้รับความรู้และสามารถนำไปปฏิบัติได้ โดยเรียนรู้ด้านการผลิต พืช สัตว์ ประมง ฯลฯ ให้มีอาหารบริโภคพอเพียงในครัวเรือน

เป้าหมาย ศูนย์เรียนรู้ การเกษตรพอเพียง 31 ศูนย์ ใน 13 อำเภอ - ศูนย์หลัก 13 ศูนย์ - ศูนย์เครือข่าย 18 ศูนย์ เกษตรกร ได้รับความรู้ รวม 1,190 ราย - ศูนย์หลัก 50 ราย/ศูนย์ (650 ราย) - ศูนย์เครือข่าย 30 ราย/ศูนย์ (540 ราย)

ศูนย์หลัก ศูนย์หลัก หมายถึงแปลงเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น แปลงเกษตรทฤษฎีใหม่ แปลงการเกษตรของปราชญ์ชาวบ้าน แปลงหนึ่งตำบลหนึ่งฟาร์ม แปลงไร่นาสวนผสมและเกษตรผสมผสาน แปลงเรียนรู้โครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งฟาร์ม จุดถ่ายทอด/สาธิต ฯลฯ ที่มีกิจกรรมหลากหลาย (ไม่ใช่แปลงที่มีกิจกรรมเฉพาะด้าน) สามารถเป็นจุดเรียนรู้ได้อย่างสมบูรณ์ และควร มีความพร้อมในการถ่ายทอดความรู้ ตามแนวทางโรงเรียนเกษตรกร

ศูนย์เครือข่าย ศูนย์เครือข่าย หมายถึง แปลงอื่น ๆ ที่มีกิจกรรมเฉพาะด้าน หรือมีหลายกิจกรรม (มากกว่า 1 ด้าน) เช่น จุดถ่ายทอด/สาธิต ด้านการเลี้ยงไก่ ประมง ขยายพันธุ์พืช มะม่วงเพื่อการส่งออก แปรรูปอาหาร ฯลฯ และเป็นจุดที่สนับสนุนการดำเนินงานของศูนย์หลักได้ รวมทั้งควรมีความพร้อมในการถ่ายทอดความรู้ ตามแนวทางโรงเรียนเกษตรกร

การเชื่อมโยงเครือข่ายศูนย์เรียนรู้ฯ ศูนย์ เครือข่าย 1 ศูนย์ เครือข่าย 5 ศูนย์ เครือข่าย 2 ศูนย์หลัก ศูนย์ เครือข่าย 3 ศูนย์ เครือข่าย 4

วิธีการดำเนินงาน ชี้แจงทำความเข้าใจให้กับเจ้าหน้าที่ (MM/DM/DW) จัดทำหลักสูตรในการเรียนรู้ (เอกสารวิชาการ) - วิชาที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจพอเพียง - วิชาเฉพาะเรื่อง วิธีการดำเนินงานศูนย์เรียนรู้ (ศูนย์หลัก / ศูนย์เครือข่าย) - คัดเลือก แปลง/ฟาร์ม ที่มีศักยภาพและมีความพร้อม - อบรม จนท. ผู้รับผิดชอบศูนย์ฯ (ใน MM/DM/DW) - จัดทำข้อมูลประจำศูนย์ฯ /สื่อสำหรับการถ่ายทอดความรู้ - จัดกระบวนการเรียนรู้ ในลักษณะของโรงเรียนเกษตรกร (เวทีเรียนรู้) อย่างน้อย 5 ครั้ง

วิธีการดำเนินงาน การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ประเมินผล ติดตามนิเทศงาน ตามระบบส่งเสริมการเกษตร รายงานผลการดำเนินงาน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ มีการพัฒนา แปลงเรียนรู้ต่าง ๆ เป็นศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง เพื่อให้เกษตรกรมีสถานที่เรียนรู้และฝึกอาชีพทางการเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง (สามารถพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน ได้ในอนาคต) เกษตรกรและเจ้าหน้าที่ ได้มีการเรียนรู้ร่วมกันผ่านเวทีเรียนรู้ เพื่อพัฒนาเกษตรกรและชุมชน ให้มีการผลิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

Road map อบรม จนท. ผู้รับผิดชอบศูนย์ฯ ศูนย์ เรียนรู้ฯ อบรม จนท. ผู้รับผิดชอบศูนย์ฯ ศูนย์ เรียนรู้ฯ ชี้แจงทำความเข้าใจ ให้กับ จนท. คัดเลือกศูนย์ฯ (ศูนย์หลัก / ศูนย์เครือข่าย) จัดทำหลักสูตร ในการเรียนรู้ ข้อมูลพื้นฐานของศูนย์ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ คัดเลือกเกษตรกร เข้าร่วมเรียนรู้ ประเมินผล จัดกระบวนการเรียนรู้ ตามแนวทางโรงเรียนเกษตรกร ติดตามนิเทศ รายงานผล

กิจกรรมที่ดำเนินงานในระดับตำบล 1. จัดทำเอกสารประกอบการเรียนรุ้ หลักสูตรวิชาชีพเฉพาะเรื่อง 2. ดำเนินการศูนย์เรียนรู้ จัดทำข้อมุลพื้นฐานศูนย์ คัดเลือกเกษตรกร จัดกระบวนการเรียนรู้ อย่างน้อย 5 ครั้ง

1) จัดทำแผนการสอน. 2) จัดเวทีเรียนรู้. 3) การจัดการความรู้ 1) จัดทำแผนการสอน 2) จัดเวทีเรียนรู้ 3) การจัดการความรู้ 4) พัฒนาวิทยากร โดยการเรียนรุ้จากการปฏิบัติจริง

เป้าหมายการดำเนินงานศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอพียง ปี 2550 รายอำเภอ เป้าหมายการดำเนินงานศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอพียง ปี 2550 รายอำเภอ จังหวัดสระบุรี ที่ อำเภอ จำนวนศูนย์หลัก จำนวนศูนย์เครือข่าย รวม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 วิหารแดง หนองแค หนองแซง เสาไห้ พระพุทธบาท เมือง มวกเหล็ก แก่งคอย บ้านหมอ หนองโดน ดอนพุด วังม่วง เฉลิมพระเกียรติ 18 31