โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ นายสมเกียรติ วิจิตรประเสริฐ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร สัมมนาเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการเกษตร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เกษตรกรรุ่นใหม่ และ Smart Farmer
Advertisements

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามกุฎราชกุมาร นางลาวัลย์ ฉัตรวิรุฬห์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตร.
โครงการส่งเสริมและพัฒนาด้านเกษตรกร และองค์กรเกษตรกร กรมส่งเสริมการเกษตร ปี 2555 นายประสงค์ ประไพตระกูล ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาเกษตรกร สัมมนาเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการเกษตร.
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
โครงการเงินอุดหนุนทั่วไป ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
สรุป ศูนย์สารสนเทศ แผนงาน/โครงการ
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การมอบหมายภารกิจผู้นำชุมชน หลังเสร็จสิ้นการฝึกอบรม
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
วิสัยทัศน์ “ เป็นองค์กรที่พัฒนาระบบการบริหารจัดการ
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
เกษตรอินทรีย์ (Organic)
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นางสาววิไลวรรณ ดุลยพัฒน์
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลช้างทูน อำเภอบ่อ ไร่ จังหวัดตราด.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูป ผลผลิตเกษตร นางลาวัลย์ ฉัตรวิรุฬห์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตร สำนักพัฒนาเกษตรกร สัมมนาเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการเกษตร.
พรบ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง ปี 2550 กรมส่งเสริมการเกษตร
ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2551 รายเดือน จดหมายข่าว Food Safety ประจำเดือนนี้ ขอเสนอเรื่องที่ทำให้ กรมส่งเสริมการเกษตรได้มี หนังสือให้เขต ศูนย์ปฏิบัติการ.
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
ระบบส่งเสริมการเกษตร
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน สิงหาคม 2554
โครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
เท่าเดิม ลดลง เพิ่มขึ้น เท่าเดิม ลดลง การเพิ่ม-ลดของสมาชิกกลุ่ม
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
โครงการบริหารการจัดการศัตรูพืชและการเขตกรรมเพื่อลดความเสี่ยงให้กับเกษตรกร สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร.
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
แผนปฏิบัติงาน 5 ปี (2553 – 2557) นิคมการเกษตรข้าวหอมมะลิ
ITกับโครงการ Food safety
รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ฝ่ายวิชาการ
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
ผู้ช่วยเลขา สามารถจัดตั้งกองทุนพัฒนา อาชีพการเกษตร เพื่อช่วยเหลือ เกษตรกรเป็น แบ่งการบริหาร ลงในกลุ่มรับผิดชอบทั้งหมด 5 กลุ่ม คือ 1. กองทุนพันธุ์สัตว์
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
Knowledge Management องค์ความรู้เรื่อง “ การส่งเสริมงานวิสาหกิจชุมชนของสำนักงาน เกษตรอำเภอเมืองราชบุรี ” ความสำคัญ ถอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมงาน.
การดำเนินงาน เพื่อดูแลคุณภาพ ชีวิตเกษตรกร โดย นางสาวมยุรี บุญญาเสนีย์กุล นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 5 สำนักพัฒนาเกษตรกร กรม ส่งเสริมการเกษตร.
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
การติดตามงานโครงการส่งเสริมการเกษตรครั้งที่ ๓ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
1.1 ผลการปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติราชการของ จังหวัด 1) ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบายการกำ ดับดูแลองค์การที่ดีจังหวัดแพร่ 2) ปฏิบัติราชการตามคำรับรองปฏิบัติราชการและการ.
กลุ่มที่ กลุ่มที่ 9 สองแคว โครงการส่งเสริม สินค้าเกษตรที่ ปลอดภัยและได้ มาตรฐาน ( ข้าว ) วิทยากรประจำกลุ่ม อ. พล ภัทร วารี ผู้ช่วยวิทยากร นาย สมชาย ชะฎาดำ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ นายสมเกียรติ วิจิตรประเสริฐ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร สัมมนาเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการเกษตร ปี 2555 วันที่ 1 มีนาคม 2555 ณ ห้องอารียา โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ต จังหวัดปทุมธานี

เป้าหมาย ระดับจังหวัด: อบรมหลักสูตร “การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต” จำนวน 7,700 คน ระดับเขต: อบรมหลักสูตร “การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร จัดการธุรกิจ” จำนวน 270 คน 17,308,000 บาท งบประมาณ

คุณสมบัติของเกษตรกรที่เข้ารับการอบรม หลักสูตร การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต 1. เป็นผู้ทำการเกษตร อายุระหว่าง 17 – 45 ปี 2. จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ขึ้นไป หลักสูตร การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการธุรกิจ 2. จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ขึ้นไป 3. เป็นผู้นำหรือสมาชิกองค์กรเกษตรกร

กิจกรรมและงบประมาณ 1. จังหวัดจัดอบรม 1 ครั้ง 3 วัน 2. จังหวัดปรับปรุงแหล่งเรียนรู้ อำเภอละ 1 แหล่ง แหล่งละ 6,000 บาท 3. เขตจัดอบรม เขตละ 1 ครั้ง 5 วัน รวม 270 คน 4. เขตจัดเวทีเครือข่าย เขตละ 1 ครั้ง 3 วัน รวม 270 คน 5. ส่วนกลางจัดทำเอกสารวิชาการ จำนวน 10,000 เล่ม เป็นเงิน 400,000 บาท

วิธีการดำเนินงาน จังหวัด 1. ประชุมหน่วยงานเกี่ยวข้องภายในจังหวัด 2. กำหนดวันรับสมัคร กำหนดการอบรม ประชาสัมพันธ์ และคัดเลือกเกษตรกรเข้าอบรม 3. จัดอบรมหลักสูตร “เพิ่มประสิทธิภาพด้านการผลิต” ให้แล้วเสร็จในเดือนกรกฎาคม 2555 4. คัดเลือกแหล่งเรียนรู้ให้แล้วเสร็จในเดือนมิถุนายน 2555 5. จัดทำรายงานผลการดำเนินงานทาง E-Project และ RBM ให้แล้วเสร็จภายในเดือนกรกฎาคม 2555

กรอบหลักสูตร การอบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การผลิตปุ๋ยเพื่อลดต้นทุนการผลิต การใช้สารอินทรีย์ชีวภาพในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การป้องกันกำจัดศัตรูพืชโดยชีววิธี การเกษตรผสมผสานตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง การจัดทำบัญชีฟาร์ม การวางแผนการผลิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การแปรรูปผลผลิตเพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิต มาตรฐานการผลิตเพื่อให้ได้รับการรับรองตามหลัก GAP กระบวนการเรียนรู้แบบโรงเรียนเกษตรกร

วิธีการดำเนินงาน (ต่อ) เขต 1. กำหนดวันรับสมัคร กำหนดการอบรม ประชาสัมพันธ์ และคัดเลือกเกษตรกรเข้าอบรม 2. จัดอบรมหลักสูตร “การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร จัดการธุรกิจ” ให้แล้วเสร็จในเดือนกรกฎาคม 2555 3. จัดเวทีเครือข่าย พร้อมให้มีคณะกรรมการเครือข่าย ระดับเขตให้แล้วเสร็จในเดือนกรกฎาคม 2555 4. จัดทำรายงานผลการดำเนินงานทาง E-Project และ RBM ให้แล้วเสร็จภายในเดือนกรกฎาคม 2555

กรอบหลักสูตร การอบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการธุรกิจ การจัดการผลผลิตก่อนและหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิต การวางแผนและจัดการเพื่อลดความเสี่ยงในด้านการตลาดสำหรับสินค้าเกษตร สุขอนามัยในการผลิตพืชและมาตรการในการกีดกันทางการค้าของคู่ค้าระหว่างประเทศ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิต

กรอบหลักสูตร (ต่อ) การอบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการธุรกิจ อนาคตธุรกิจเกษตรไทยในเวทีการค้าโลก การบริหารจัดการเพื่อการค้าและการลงทุนด้านการเกษตร การเขียนโครงการเพื่อขอสินเชื่อเพื่อการลงทุน สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการธุรกิจเกษตร (การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต) จริยธรรมทั่วไปสำหรับการทำธุรกิจ

ใบสมัครและแบบรายงาน ใบสมัครเข้าอบรมโครงการสร้างและ พัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ ปี 2555 กรมส่งเสริมการเกษตร แบบรายงานแผนการจัดอบรม/ แผนการจัดเวทีเครือข่าย แบบรายงานแปลง/แหล่งเรียนรู้ระดับ อำเภอ

ผลผลิต (OUTPUT) 1. เกษตรกร จำนวน 7,700 ราย เข้าอบรม “การเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิต” มีความรู้และทักษะ 2. เกษตรกร จำนวน 270 ราย เข้าอบรม “การเพิ่ม ประสิทธิภาพการบริหารจัดการธุรกิจ” มีความรู้และทักษะ 3. แหล่งเรียนรู้ได้รับการปรับปรุงจำนวน 882 แหล่ง 4. เกิดเครือข่ายเกษตรกรรุ่นใหม่เขตละ 1 เครือข่าย จำนวน 6 เครือข่าย

ผลลัพธ์ (OUTCOME) เกษตรกรรุ่นใหม่มีศักยภาพในการ ผลิตเป็นเกษตรกรที่เข้มแข็ง สามารถ ประกอบอาชีพการเกษตรให้มีรายได้ มั่นคงและพึ่งพาตนเองได้

ผู้ประสานงานโครงการ 1. นายสมเกียรติ วิจิตรประเสริฐ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนากลุ่มยุว เกษตรกร โทรศัพท์ 08 9685 8799 , 0 2561 4793 2. นางสาวศันสนีย์ นิติธรรมยง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร ชำนาญการ โทรศัพท์ 08 1857 6029 , 0 2561 4793