การวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้เพื่อเสริมความแกร่ง (เข้มแข็ง) ของชุมชน การวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้เพื่อเสริมความแกร่ง (เข้มแข็ง) ของชุมชน อาวรณ์ โอภาสพัฒนกิจ ภาควิชาส่งเสริมและเผยแพร่การเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มช. ผู้ประสานงาน สำนักงานกองทุนสนับสนุน การวิจัย (สกว.) ฝ่ายวิจัยเพื่อท้องถิ่น
ประเด็นแลกเปลี่ยน งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: เครื่องมือกำหนดทิศทางและการเขียนงานวิจัยอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อการพัฒนาชนบท ทำไม คณาจารย์และนักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ควรประยุกต์ใช้งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น
ประเด็นแลกเปลี่ยน 2.1 กลไกสนับสนุนงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น ศูนย์ประสานงานวิจัยเชิงบูรณาการ สกว.-แม่โจ้ (คุณอังคนา ทาลัดชัย)
ประเด็นแลกเปลี่ยน ปริญญาโท 2.2 โครงการ สนับสนุนทุนวิจัยเพื่อ ท้องถิ่น สำหรับนักศึกษา ปริญญาโท (Community-Based Research Master Grant: CBMAG) (รศ. ศุภศักดิ์ ลิมปิติ)
3. รางวัลของคณาจารย์ และ นักศึกษาที่ ประยุกต์ใช้ งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น ประเด็นแลกเปลี่ยน 3. รางวัลของคณาจารย์ และ นักศึกษาที่ ประยุกต์ใช้ งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น
งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น (Community-Based Research: CBR) ฐานคิด: เมื่อ ปัญหาเกิดขึ้นในชุมชนชนบท คำตอบในการแก้ปัญหา …. ก็ อยู่ที่ชุมชนชนบท
เพราะ ชุมชนชนบท มีทุน / ต้นทุน ทุน ทรัพยากร สิ่งแวดล้อม ทุน คน ทุน ความรู้ ภูมิปัญญา ทุน กลุ่ม / องค์กร / เครือข่าย ทุน วัฒนธรรม ประเพณี ฮีตฮอย ทุน ที่เป็นตัวเงิน ฯลฯ
งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: เป็นอย่างไร ? เป็น Research Methodology CBR มีความเชื่อ เบื้องหลัง … ทุกคน มีศักยภาพ เรียนรู้ได้ CBR เน้น Process ที่สามารถ สร้าง K ใหม่ ทำให้คนเก่งขึ้น มั่นใจขึ้น เกิดกลไกการจัดการ
งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น (CBR): เป็นอย่างไร ? โจทย์วิจัย มาจากชุมชน คนในชุมชน อาสามาเป็น นักวิจัย ร่วมสร้างความรู้ มีปฏิบัติการ ของการสร้างความรู้ และ ใช้ความรู้
VCD “ คนตาย (ไม่) ขายคนเป็น” งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: เป็นงานวิจัยที่มีคุณภาพ และ มีประโยชน์ต่อ ทุกฝ่าย จริงหรือ ? VCD “ คนตาย (ไม่) ขายคนเป็น”
งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้ สร้างจาก เจ้าของปัญหาและผู้เกี่ยวข้อง อาสา/ สมัครใจจะทดลองทำวิจัย เพื่อแก้ปัญหา การฝึกเก็บข้อมูล โดย วิเคราะห์ได้ว่า จะเก็บประเด็นอะไร จากใคร เก็บอย่างไร การวิเคราะห์ แยกแยะข้อมูลได้ การใช้ข้อมูล ประกอบการตัดสินใจแก้ปัญหา
งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: คนในชุมชน เก่งขึ้น มั่นใจมากขึ้น งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: คนในชุมชน เก่งขึ้น มั่นใจมากขึ้น เกิดทักษะ การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจแก้ปัญหา เกิดความรู้ใหม่ ปรับวิธีคิด กระบวนทัศน์
งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: สร้าง กลไกการจัดการกับปัญหา งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: สร้าง กลไกการจัดการกับปัญหา เกิด คน / กลุ่มคน ที่มี จิตอาสา เกิดปฏิบัติการ ของการใช้ความรู้ใหม่ เกิดความสำเร็จ เล็ก ๆ ระหว่างทาง
งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: เป็นอย่างไร ? R วิชาการ CBR สร้าง K ใหม่ สร้าง K ใหม่ สร้างโดย สร้างโดยคนใน นักวิชาการ ชุมชนเป็นหลัก เน้นผลการวิจัย เน้นกระบวนการ เรียนรู้ ใช้ฐาน “ทุน” ชุมชน
ทำไม ผู้บริหารมหาวิทยาลัย ควรจะใช้ประโยชน์จากช่องทาง CBR ? ผู้บริหารมหาวิทยาลัย ต้องบริหาร ให้มหาวิทยาลัย รับใช้ชุมชนท้องถิ่น เพราะ เราได้เงินเดือนจากภาษีของชาวบ้าน
ทำไม คณาจารย์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ควรจะใช้ประโยชน์จากช่องทาง CBR ? ผอ. สำนักวิจัย และ ทีมงาน มีหน้าที่หลัก ในการบริหารจัดการงานวิจัย เพื่อหนุนเสริม งานวิจัยของอาจารย์ และ นักศึกษา
ทำไม คณาจารย์และนักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ควรจะลองประยุกต์ใช้ CBR ? ”คณาจารย์”
สอน วิจัย บริการชุมชน ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ทำนุบำรุงวัฒนธรรมศิลปะ
สอน วิจัย บริการชุมชน ทำนุบำรุงวัฒนธรรมศิลปะ บทบาทของอาจารย์ เป็นนักจัดกระบวนการเรียนรู้ (Facilitator) วิจัย บริการชุมชน ทำนุบำรุงวัฒนธรรมศิลปะ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
กลไกสนับสนุนงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น ศูนย์ประสานงานวิจัยเชิงบูรณาการ สกว. - แม่โจ้ ผศ. ดร. ปรารถนา ยศสุข ผู้ประสานงาน คุณ อังคนา ทาลัดชัย ผู้ช่วยผู้ประสานงาน
ทำไมนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ควรจะลองประยุกต์ใช้ CBR ? นักศึกษาปริญญาโท
กลไกสนับสนุนการทำวิทยานิพนธ์ / การค้นคว้าอิสระ กลไกสนับสนุนการทำวิทยานิพนธ์ / การค้นคว้าอิสระ โครงการ สนับสนุนทุนวิจัยเพื่อท้องถิ่น สำหรับนักศึกษาปริญญาโท (Community-Based Research Master Grant: CBMAG) รศ. ศุภศักดิ์ ลิมปิติ ผู้ประสานงาน นางสาวทัศนันท์ บุญสวน ผู้ช่วยผู้ประสานงาน นายนภดล ฟูแสง ผู้ช่วยผู้ประสานงาน
CBR เป็น โอกาส จริงหรือ ? ถนน ทุกสาย มุ่งสู่ชุมชน / ท้องถิ่น ทั้ง นโยบาย หน่วยงาน แหล่งทุน วิจัย การสร้างบัณฑิต มหาบัณฑิต ดุษฎี บัณฑิต ที่รับใช้ท้องถิ่น ได้จริง
การเรียนรู้ของนักศึกษาที่ได้รับ ทุน CBMAG คุณ เสาวดี ศรีฟ้า คุณ สุภาพร อินขะ คุณ รัฐพล ตันติอนุพงษ์
รางวัล ที่ได้รับจาก การประยุกต์ใช้งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น คน ในชุมชน
งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: คนในชุมชน เก่งขึ้น มั่นใจมากขึ้น งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: คนในชุมชน เก่งขึ้น มั่นใจมากขึ้น เกิดทักษะ การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจแก้ปัญหา เกิดความรู้ใหม่ ปรับวิธีคิด กระบวนทัศน์
งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: สร้าง กลไกการจัดการกับปัญหา งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: สร้าง กลไกการจัดการกับปัญหา เกิด คน / กลุ่มคน ที่มี จิตอาสา เกิดปฏิบัติการ ของการใช้ความรู้ใหม่ เกิดความสำเร็จ เล็ก ๆ ระหว่างทาง
รางวัล ที่ได้รับจาก การประยุกต์ใช้งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น อาจารย์ สาย ก สาย ข
ตัวอย่าง: อาจารย์ อาวรณ์ ตัวอย่าง: อาจารย์ อาวรณ์ ได้ค้นพบตัวเอง ได้เติบโตภายใน เรียนรู้ธรรมะ ลด ความอหังการ ตอบแทนคุณ แผ่นดินเกิด สร้าง “คน” จำนวนมาก ทางโลก: ได้สร้างผลงาน ด้านวิชาการ เกิดเครือข่ายนานาชาติ
รางวัล ที่ได้รับจาก การประยุกต์ใช้งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น ผู้บริหารสำนักวิจัย
รางวัล ที่ได้รับจาก การประยุกต์ใช้งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น “ผอ. สำนักวิจัย และ ทีมงาน” ได้เป็น ผู้สนับสนุน ผู้อำนวยความสะดวก เช่น รับทุน จากสกว. ฝ่ายวิจัยเพื่อท้องถิ่น เพื่อหนุนเสริมงานวิจัยของคณาจารย์/ นศ.
รางวัล ที่ได้รับจาก การประยุกต์ใช้งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น ผู้บริหาร มหาวิทยาลัย
รางวัล ที่ได้รับจาก การประยุกต์ใช้งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น ”ผู้บริหารมหาวิทยาลัย” ได้เป็น ผู้สนับสนุน ผู้อำนวยความสะดวก เช่น ทำ MOU กับ สกว. ฝ่ายวิจัยเพื่อท้องถิ่น เพื่อหนุนเสริมศูนย์ประสานงาน
เงื่อนไขสำคัญ ลอง ... เปิดใจ ทดลองทำ
ขอบพระคุณมาก ค่ะ ที่ให้โอกาส