เครื่องชี้นำวิกฤตการณ์ค่าเงินของไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
“สรุปสถานการณ์เศรษฐกิจประเทศไทยปี 2551
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
การประมาณผลผลิตตามศักยภาพของประเทศไทย Parametric Estimation of Thailand’s Potential Output โดย ปฤษันต์ จันทน์หอม Potential Output.
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
การอธิบายด้วยสมการ การอธิบายด้วยกราฟ กรณีของประเทศไทย
การเลือกคุณภาพสินค้า
Training Management Trainee
โครงสร้างเงินลงทุน ณ 31 พฤษภาคม 2552
โครงสร้างเงินลงทุน ณ 30 กันยายน 2552
โครงสร้างเงินลงทุน ณ 30 มิถุนายน 2552 พันธบัตรรัฐบาล 196 ล้านบาท = 34.56% เงินฝากธนาคาร 212 ล้านบาท = 37.47% ตราสารหนี้ธนาคารรับรอง 30 ล้านบาท = 5.34%
ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2554 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร , 2120 – 2122
“สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย”
พัฒนาการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 31 ปี
พัฒนาการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 32 ปี
ธุรกิจสินเชื่อที่อยู่อาศัย
การวางแผน เพื่อการเกษียณ
สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
การกำหนดนโยบายการคลังและบูรณาการของ 4 หน่วยงานหลัก ( )
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
วิชาเศรษฐศาสตร์ รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง.
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของไทย
สถานการณ์การเงินการคลัง
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
EC411 ทฤษฏีและนโยบายการเงิน
กันยายน 2555 ผศ. ดร. ยุทธนา เศรษฐปราโมทย์
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (3)
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการรวบรวม ความคิดเห็นของประชาชนที่ซื้อคอมพิวเตอร์จากโครงการคอมพิวเตอร์ ไอซีที เพื่อคนไทย พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
ภาวะอุตสาหกรรม เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ด้านสัญญาณ เตือน คำอธิบาย ด้านการผลิต ภาคการเกษตร สาขา การเกษตร ขยายตัว พิจารณาจากมูลค่า ผลผลิตรวมด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น จากปีก่อนร้อยละ สาขาปศุ
รองเลขาธิการคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
ส่งสัญญาณ ผิดปกติ อุตสาหกรรมเส้นด้ายจากฝ้าย ส่งสัญญาณ ผิดปกติ ภาวะอุตสาหกรรมผ้าผืนอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม ส่งสัญญาณ ผิดปกติ
ตัวอย่างการพยากรณ์ยอดขาย
ทิศทางเศรษฐกิจไทยภายใต้ความไม่แน่นอนปี 2554
อนาคตเศรษฐกิจประเทศไทย
สรุปผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2552 ชั้ น จำนว นสาระการเรียนรู้ นักเรี ยนทค ค. เพิ่มวสพ.พ. ศ.ศ. ดน ตรีง.ง. คอ ม. อ อ. เพิ่ม ป.1ป
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
การตรวจสอบและปรับปรุงรายการบัญชี
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
กราฟเบื้องต้น.
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เครื่องชี้นำวิกฤตการณ์ค่าเงินของไทย นพดล บูรณะธนัง วรางคณา อิ่มอุดม สายนโยบายการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย

จุดประสงค์ เพื่อหาเครื่องชี้เศรษฐกิจสำคัญที่สะท้อนความเสี่ยงของระบบเศรษฐกิจ สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการติดตามภาวะเศรษฐกิจได้

นิยามของวิกฤตการณ์ค่าเงิน ไม่มีกฎที่ใช้ตัดสินเวลาที่เกิดวิกฤตที่ตายตัว วิกฤตการณ์ค่าเงินอาจแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม การใช้อัตราแลกเปลี่ยนที่เป็นตัวเงิน (nominal exchange rate) การใช้อัตราแลกเปลี่ยนที่แท้จริง (real exchange rate) การใช้ดัชนีแรงกดดันตลาดอัตราแลกเปลี่ยน (Exchange Market Pressure Index)

ดัชนีแรงกดดันตลาดอัตราแลกเปลี่ยน Empt = %D et - se* %D rt sr et = อัตราแลกเปลี่ยนบาทต่อดอลลาร์ สรอ. ในช่วงเวลา t rt = ทุนสำรองเงินตราต่างประเทศ ในช่วงเวลา t se= ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) ของอัตราแลกเปลี่ยน sr= ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของทุนสำรองเงินตราต่างประเทศ

Exchange Market Pressure Index

นิยามวิกฤตการณ์ค่าเงินในการศึกษานี้ Empt > semp + memp เกิดวิกฤตการณ์ Empt < semp + memp ไม่เกิดวิกฤตการณ์

Crisis Period

ข้อจำกัดของคำนิยามนี้ วิกฤตการณ์จะขึ้นอยู่กับจำนวนตัวอย่างที่ใช้ การไม่คำนึงถึงการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยอาจทำให้การกำหนดวิกฤตคลาดเคลื่อนได้

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง First-generation model: ปัจจัยพื้นฐานของเศรษฐกิจเป็นตัวแปรสำคัญ Second-generation model: ให้ความสำคัญกับการคาดคะเน (expectation) และพฤติกรรมที่เหมาะสม (optimizing behavior) ของทางการ Third-generation model: ผสมผสานของ 2 กลุ่มแรก

วิธีการศึกษา Parametric approach เช่น Probit/logit model Non-parametric approach เช่น Signal approach

การศึกษานี้ ใช้วิธีแบบจำลองทางเศรษฐมิติตามแบบ probit model ใช้ข้อมูลรายเดือนตั้งแต่ มกราคม 2523 - กันยายน 2544 ตัวแปรอธิบายจะอยู่ในรูปอัตราเปลี่ยนแปลง (y-o-y) หรือเป็นสัดส่วน และแปลงเป็น percentile

Probit Model Binary Probit Model: Yt = X/t b + et Pt(Yt = 1/Xt) = F(X/t b) = F(Yt) F(X/t b) = N(0,1) ภาวะวิกฤต ถ้า Yt > Y*t ภาวะปกติ ถ้า Yt < Y*t

เครื่องชี้เศรษฐกิจ กลุ่มดุลบัญชีเดินสะพัด การส่งออกในรูปดอลลาร์ สรอ. การนำเข้า ในรูปดอลลาร์ สรอ. Real Effective Exchange: REER REER เทียบกับแนวโน้ม กลุ่มดุลบัญชีเงินทุนเคลื่อนย้าย ทุนสำรองเงินตราต่างประเทศ ทุนสำรองเงินตราต่างประเทศเทียบกับแนวโน้ม ทุนสำรองเงินตราต่างประเทศ/การนำเข้า ส่วนต่างInterbank rate กับ Fed Fund Rate ปริมาณเงิน (M2)/ ทุนสำรองเงินตราต่างประเทศ

เครื่องชี้เศรษฐกิจ (ต่อ) กลุ่มเครื่องชี้ภาคการเงิน สินเชื่อในประเทศ ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยเงินกู้-เงินฝาก Money multiplier กลุ่มเศรษฐกิจจริง ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน รายได้รัฐบาล ดุลเงินสดรัฐบาล ดัชนีราคาผู้บริโภค ดัชนีตลาดหลักทรัพย์

ผลการประมาณแบบจำลอง Indicators Model 1 Model 2 Model 7 Exports -0.0248*** -0.0105* -0.9018*** REER-Trend -0.0532*** -0.8162*** Reserves/Imports -0.1876*** -0.5136** Govt. Revenue -0.0179*** -0.0170*** Spread 0.0670* SET Index -0.00838*** Domestic credits -0.616 CPI 0.8607** Log likelihood -130.39 -109.42 -112.80 Obs. with 0 215 215 215 Obs. With 1 46 46 46

Model 1 Model 2 Model 7

การประเมินความถูกต้องของแบบจำลอง กำหนด Cut-off Point Probability (ร้อยละ 40) เหตุการณ์จริงในอีก 24 เดือนข้างหน้า เกิดวิกฤต ไม่เกิดวิกฤต A B ประมาณการ มีสัญญาณ ไม่มีสัญญาณ C D

Performance Test Avg. Prob. 0.31 0.29 0.19 0.15 0.18 0.15 Model 1. Model 2. Model 7. In Out In Out In Out Avg. Prob. 0.31 0.29 0.19 0.15 0.18 0.15 (A+D)/(A+B+C+D) 0.55 0.52 0.35 0.32 0.30 0.34 A / (A+C) 0.52 0.36 0.27 0.09 0.04 0.11 D / (B+D) 0.91 0.91 0.88 0.91 0.92 0.91 A / (A+B) 0.91 0.90 0.73 0.70 0.57 0.74 ((B/(B+D))/(A/(A+C) 0.23 0.26 0.92 1.08 1.84 0.86 Type I 0.59 0.64 0.87 0.91 0.96 0.89 Type II. 0.09 0.09 0.12 0.09 0.08 0.09

Marginal Effects Indicators Model 1 Model 2 Exports -0.0749 -0.0175 REER-Trend -0.0639 Reserves/Imports -0.0968 Govt. Revenue -0.0553 -0.026 Spread 0.1675 SET Index -0.0254

บทสรุป วิกฤตการณ์ค่าเงินมีความสัมพันธ์กับการขยายตัวของ (1) การส่งออก (2) รายได้รัฐบาล (3) ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ (4) สัดส่วนทุนสำรองเงินตราต่างประเทศต่อการนำเข้า (5) ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยเงินกู้-เงินฝาก (6) REER เทียบกับแนวโน้ม และ(7) ดัชนีราคาผู้บริโภค ทำนายวิกฤตได้ถูกต้องระหว่างร้อยละ 30-52 ส่งสัญญาณวิกฤตได้ถูกต้องประมาณร้อยละ 60-90