เครื่องชี้นำวิกฤตการณ์ค่าเงินของไทย นพดล บูรณะธนัง วรางคณา อิ่มอุดม สายนโยบายการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย
จุดประสงค์ เพื่อหาเครื่องชี้เศรษฐกิจสำคัญที่สะท้อนความเสี่ยงของระบบเศรษฐกิจ สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการติดตามภาวะเศรษฐกิจได้
นิยามของวิกฤตการณ์ค่าเงิน ไม่มีกฎที่ใช้ตัดสินเวลาที่เกิดวิกฤตที่ตายตัว วิกฤตการณ์ค่าเงินอาจแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม การใช้อัตราแลกเปลี่ยนที่เป็นตัวเงิน (nominal exchange rate) การใช้อัตราแลกเปลี่ยนที่แท้จริง (real exchange rate) การใช้ดัชนีแรงกดดันตลาดอัตราแลกเปลี่ยน (Exchange Market Pressure Index)
ดัชนีแรงกดดันตลาดอัตราแลกเปลี่ยน Empt = %D et - se* %D rt sr et = อัตราแลกเปลี่ยนบาทต่อดอลลาร์ สรอ. ในช่วงเวลา t rt = ทุนสำรองเงินตราต่างประเทศ ในช่วงเวลา t se= ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) ของอัตราแลกเปลี่ยน sr= ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของทุนสำรองเงินตราต่างประเทศ
Exchange Market Pressure Index
นิยามวิกฤตการณ์ค่าเงินในการศึกษานี้ Empt > semp + memp เกิดวิกฤตการณ์ Empt < semp + memp ไม่เกิดวิกฤตการณ์
Crisis Period
ข้อจำกัดของคำนิยามนี้ วิกฤตการณ์จะขึ้นอยู่กับจำนวนตัวอย่างที่ใช้ การไม่คำนึงถึงการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยอาจทำให้การกำหนดวิกฤตคลาดเคลื่อนได้
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง First-generation model: ปัจจัยพื้นฐานของเศรษฐกิจเป็นตัวแปรสำคัญ Second-generation model: ให้ความสำคัญกับการคาดคะเน (expectation) และพฤติกรรมที่เหมาะสม (optimizing behavior) ของทางการ Third-generation model: ผสมผสานของ 2 กลุ่มแรก
วิธีการศึกษา Parametric approach เช่น Probit/logit model Non-parametric approach เช่น Signal approach
การศึกษานี้ ใช้วิธีแบบจำลองทางเศรษฐมิติตามแบบ probit model ใช้ข้อมูลรายเดือนตั้งแต่ มกราคม 2523 - กันยายน 2544 ตัวแปรอธิบายจะอยู่ในรูปอัตราเปลี่ยนแปลง (y-o-y) หรือเป็นสัดส่วน และแปลงเป็น percentile
Probit Model Binary Probit Model: Yt = X/t b + et Pt(Yt = 1/Xt) = F(X/t b) = F(Yt) F(X/t b) = N(0,1) ภาวะวิกฤต ถ้า Yt > Y*t ภาวะปกติ ถ้า Yt < Y*t
เครื่องชี้เศรษฐกิจ กลุ่มดุลบัญชีเดินสะพัด การส่งออกในรูปดอลลาร์ สรอ. การนำเข้า ในรูปดอลลาร์ สรอ. Real Effective Exchange: REER REER เทียบกับแนวโน้ม กลุ่มดุลบัญชีเงินทุนเคลื่อนย้าย ทุนสำรองเงินตราต่างประเทศ ทุนสำรองเงินตราต่างประเทศเทียบกับแนวโน้ม ทุนสำรองเงินตราต่างประเทศ/การนำเข้า ส่วนต่างInterbank rate กับ Fed Fund Rate ปริมาณเงิน (M2)/ ทุนสำรองเงินตราต่างประเทศ
เครื่องชี้เศรษฐกิจ (ต่อ) กลุ่มเครื่องชี้ภาคการเงิน สินเชื่อในประเทศ ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยเงินกู้-เงินฝาก Money multiplier กลุ่มเศรษฐกิจจริง ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน รายได้รัฐบาล ดุลเงินสดรัฐบาล ดัชนีราคาผู้บริโภค ดัชนีตลาดหลักทรัพย์
ผลการประมาณแบบจำลอง Indicators Model 1 Model 2 Model 7 Exports -0.0248*** -0.0105* -0.9018*** REER-Trend -0.0532*** -0.8162*** Reserves/Imports -0.1876*** -0.5136** Govt. Revenue -0.0179*** -0.0170*** Spread 0.0670* SET Index -0.00838*** Domestic credits -0.616 CPI 0.8607** Log likelihood -130.39 -109.42 -112.80 Obs. with 0 215 215 215 Obs. With 1 46 46 46
Model 1 Model 2 Model 7
การประเมินความถูกต้องของแบบจำลอง กำหนด Cut-off Point Probability (ร้อยละ 40) เหตุการณ์จริงในอีก 24 เดือนข้างหน้า เกิดวิกฤต ไม่เกิดวิกฤต A B ประมาณการ มีสัญญาณ ไม่มีสัญญาณ C D
Performance Test Avg. Prob. 0.31 0.29 0.19 0.15 0.18 0.15 Model 1. Model 2. Model 7. In Out In Out In Out Avg. Prob. 0.31 0.29 0.19 0.15 0.18 0.15 (A+D)/(A+B+C+D) 0.55 0.52 0.35 0.32 0.30 0.34 A / (A+C) 0.52 0.36 0.27 0.09 0.04 0.11 D / (B+D) 0.91 0.91 0.88 0.91 0.92 0.91 A / (A+B) 0.91 0.90 0.73 0.70 0.57 0.74 ((B/(B+D))/(A/(A+C) 0.23 0.26 0.92 1.08 1.84 0.86 Type I 0.59 0.64 0.87 0.91 0.96 0.89 Type II. 0.09 0.09 0.12 0.09 0.08 0.09
Marginal Effects Indicators Model 1 Model 2 Exports -0.0749 -0.0175 REER-Trend -0.0639 Reserves/Imports -0.0968 Govt. Revenue -0.0553 -0.026 Spread 0.1675 SET Index -0.0254
บทสรุป วิกฤตการณ์ค่าเงินมีความสัมพันธ์กับการขยายตัวของ (1) การส่งออก (2) รายได้รัฐบาล (3) ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ (4) สัดส่วนทุนสำรองเงินตราต่างประเทศต่อการนำเข้า (5) ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยเงินกู้-เงินฝาก (6) REER เทียบกับแนวโน้ม และ(7) ดัชนีราคาผู้บริโภค ทำนายวิกฤตได้ถูกต้องระหว่างร้อยละ 30-52 ส่งสัญญาณวิกฤตได้ถูกต้องประมาณร้อยละ 60-90