คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
Advertisements

ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดนครนายก
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดปราจีนบุรี
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
สวัสดีครับ.
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
วัยรุ่นมีพฤติกรรมที่เหมาะสม หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมที่เหมาะสม
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ทำแผนที่ทางเดินยุทธศาตร์ของ แกนนำชุมชน เทศบาลสนับสนุน งบประมาณอย่างเต็มที่ เครือข่ายชุมชน วัด โรงเรียนมีบทบาทในการ ดำเนินงานด้านสุขภาพ ใช้แผนที่ยุทธสาสตร์
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย สคร. เขต สช. ภาค ฝ่ายต่างๆของ สสจ. ผู้แทน จาก สสอ. และ ท้องถิ่น / ตำบลที่จะเปิดงาน 2. แยก 2 กลุ่มตามลักษณะผู้เข้าประชุม ( กลุ่มที่มา จากตำบล / ท้องถิ่น และกลุ่มจากจังหวัด / อำเภอ รวมกัน ) กลุ่มที่มาจากจังหวัดเป็นกลุ่มหลักที่จะ พิจารณามาตรการทางวิชาการในตารางนิยาม เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ ส่วนกลุ่มท้องถิ่น / ตำบลจะเป็นกลุ่มหลักที่พิจารณามาตรการทาง สังคม 3. เนื่องจากผู้แทนมีมาจากทุกระดับ ผลงานที่ได้จะ สามารถนำไปทดลองใช้ที่ท้องถิ่น / ตำบลได้เลย เป็นการย่นระยะเวลาทำงาน โดยไม่ต้องไม่ต้อง ทำซ้ำที่อำเภอ ตำบลอีก การเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรค ไข้หวัดใหญ่ 2009 ตำบลเหมืองใหม่ อำเภออัมพ วา จังหวัดสมุทรสงคราม

ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ตำบลเหมืองใหม่ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ภายในปี 2553 กำหนดเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2552 ระดับประชาชน ( มุมมอง เชิงคุณค่า ) เด็กและเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติตน พร้อมทั้งถ่ายทอดต่อ ครอบครัวให้ปฏิบัติตนได้ถูกต้อง ประชาชนทุกคนใช้ผ้าปิดปากปิดจมูก ชุมชนผลิตและใช้ผ้าปิดปากปิดจมูก ชุมชนปลูกและใช้สมุนไพรต้าน ไข้หวัด ทุกครัวเรือนต้องสะอาด ประชาชนต้องล้างมือทุกครั้งก่อนทาน อาหาร ชุมชนมีระบบเฝ้าระวังที่เข้มแข็ง มีมาตรการทางสังคมที่เด็ดขาด กินอาหารที่ถูกสุขลักษณะ ชุมชนมีการสำรองอาหารและของใช้ ที่จำเป็นต่อชีวิตประจำวัน ชุมชนมีบัญชีบุคลาการและเครือข่าย ทั้งหมด ( แฟ้มข้อมูลภาวะวิกฤต ) ระดับภาคี ( มุมมองเชิงผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย ) ปกครองท้องที่เป็นแกนนำในการ รณรงค์ หน่วยงานภาครัฐให้ความสนับสนุน ด้านบุคลากร ทรัพยากร ความรู้ งบประมาณ ทำบัญชีบุคลากร และ ขั้นตอนการทำงาน อปท. ให้ความสนับสนุนด้าน ทรัพยากรและสำรองเครื่องใช้ อุปโภค - บริโภคทั้งหมด โรงเรียนต้องให้ความร่วมมือและให้ ความรู้ในการดำเนินงานด้านเชื้อ H1N1 กับเยาวชน วัดสะอาดและถ่ายทอดความรู้สู่ชุชน ศอช. เป็นผู้ประสานงานที่เข้มแข็ง กลุ่มองค์กรต่างๆในชุมชนปฏิบัติงาน เชิงรุกทุกครัวเรือนและเป็นศูนย์รับ แจ้งเหตุ เอกชนมีส่วนร่วมในการคัดกรองและ เฝ้าระวังนักท่องเที่ยว

ผังจุดหมายปลายทางการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค บูรณาการระหว่างกรมอนามัยกับกรมควบคุมโรค ภายในปี 2553 (ระยะ 2 ปี) กำหนดเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2552 ระดับกระบวนการ ( มุมมองเชิง กระบวนการภายใน ) มีการประชาสัมพันธ์อย่าง ครอบคลุมและต่อเนื่องเชิงรุก 3 เวลา สร้างและขยายเครือข่าย สุขภาพกับตำบลใกล้เคียง เกิดการบริหารจัดการตาม หลักธรรมาภิบาลในเรื่อง เกี่ยวกับ H1N1 มีการสร้างนวัตกรรมในการ เฝ้าระวัง ควบคุมเกี่ยวกับ H1N1 มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้าน H1N1 ทุกสัปดาห์ ระดับพื้นฐานองค์กร ( มุมมองเชิงการเรียนรู้ และพัฒนา ) มีข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมของ คนในชุมชนเกี่ยวกับ H1N1 และสมุนไพรที่เป็นจริงและ ทันสมัย ทำงานเป็นทีมเชิงรุก ผู้นำเข้มแข็ง มีความรู้ ความสามารถในการป้องกันเชื้อ H1N1 มีการสร้างทายาทผู้นำที่มี ความรู้ความเข้าใจกระบวนทัศน์ เชิงบวกและเชิงรุกด้าน H1N1 ผู้นำมีคุณธรรมและจริยธรรม

หน่วยงานภาครัฐ ทำงานสอดคล้อง และเชิงรุก อปท. และท้องที่นำร่อง เรื่อง H1N1 ศอช. ภาคเอกชนและ กลุ่มองค์กรในชุมชนมี ความเข้มแข็งและ ทำงานเชิงรุก สร้างและขยายเครือข่าย เฝ้าระวัง H1 N2 ทั้ง ภายในและภายนอก อย่างเข้มแข็ง รวมทั้ง นวัตกรรม บุคลากร และทายาท ทำงานเป็นทีม ใน บรรยากาศที่เอื้ออำนวย ผู้นำมีศักยภาพ มี คุณธรรม จริยธรรม ความคิดเชิงบวก เชิง รุก ระบบข้อมูล พฤติกรรมและ ทรัพยากรของ ชุมชนเป็นจริง ทันสมัย ชุมชน มีระบบเฝ้า ระวังที่มี ประสิทธิภาพ ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน ประชาชนปรับเปลี่ยน พฤติกรรมในการ เฝ้าระวัง H1N1 บริหารจัดการตาม หลักธรรมา ภิ บาลในเรื่อง H1N1 ชุมชน มี มาตรการทาง สังคมที่เด็ดขาด ระบบสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ต่อเนื่อง เชิงรุก ประชาชนมีส่วนร่วม กำหนดและดำเนิน กิจกรรมฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุม H1N1 แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) การเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ตำบลเหมือง ใหม่ อ. อัมพวา จ. สมุทรสงคราม ภายในปี 2553

สวัสดี