คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย สคร. เขต สช. ภาค ฝ่ายต่างๆของ สสจ. ผู้แทน จาก สสอ. และ ท้องถิ่น / ตำบลที่จะเปิดงาน 2. แยก 2 กลุ่มตามลักษณะผู้เข้าประชุม ( กลุ่มที่มา จากตำบล / ท้องถิ่น และกลุ่มจากจังหวัด / อำเภอ รวมกัน ) กลุ่มที่มาจากจังหวัดเป็นกลุ่มหลักที่จะ พิจารณามาตรการทางวิชาการในตารางนิยาม เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ ส่วนกลุ่มท้องถิ่น / ตำบลจะเป็นกลุ่มหลักที่พิจารณามาตรการทาง สังคม 3. เนื่องจากผู้แทนมีมาจากทุกระดับ ผลงานที่ได้จะ สามารถนำไปทดลองใช้ที่ท้องถิ่น / ตำบลได้เลย เป็นการย่นระยะเวลาทำงาน โดยไม่ต้องไม่ต้อง ทำซ้ำที่อำเภอ ตำบลอีก การเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรค ไข้หวัดใหญ่ 2009 ตำบลเหมืองใหม่ อำเภออัมพ วา จังหวัดสมุทรสงคราม
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ตำบลเหมืองใหม่ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ภายในปี 2553 กำหนดเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2552 ระดับประชาชน ( มุมมอง เชิงคุณค่า ) เด็กและเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติตน พร้อมทั้งถ่ายทอดต่อ ครอบครัวให้ปฏิบัติตนได้ถูกต้อง ประชาชนทุกคนใช้ผ้าปิดปากปิดจมูก ชุมชนผลิตและใช้ผ้าปิดปากปิดจมูก ชุมชนปลูกและใช้สมุนไพรต้าน ไข้หวัด ทุกครัวเรือนต้องสะอาด ประชาชนต้องล้างมือทุกครั้งก่อนทาน อาหาร ชุมชนมีระบบเฝ้าระวังที่เข้มแข็ง มีมาตรการทางสังคมที่เด็ดขาด กินอาหารที่ถูกสุขลักษณะ ชุมชนมีการสำรองอาหารและของใช้ ที่จำเป็นต่อชีวิตประจำวัน ชุมชนมีบัญชีบุคลาการและเครือข่าย ทั้งหมด ( แฟ้มข้อมูลภาวะวิกฤต ) ระดับภาคี ( มุมมองเชิงผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย ) ปกครองท้องที่เป็นแกนนำในการ รณรงค์ หน่วยงานภาครัฐให้ความสนับสนุน ด้านบุคลากร ทรัพยากร ความรู้ งบประมาณ ทำบัญชีบุคลากร และ ขั้นตอนการทำงาน อปท. ให้ความสนับสนุนด้าน ทรัพยากรและสำรองเครื่องใช้ อุปโภค - บริโภคทั้งหมด โรงเรียนต้องให้ความร่วมมือและให้ ความรู้ในการดำเนินงานด้านเชื้อ H1N1 กับเยาวชน วัดสะอาดและถ่ายทอดความรู้สู่ชุชน ศอช. เป็นผู้ประสานงานที่เข้มแข็ง กลุ่มองค์กรต่างๆในชุมชนปฏิบัติงาน เชิงรุกทุกครัวเรือนและเป็นศูนย์รับ แจ้งเหตุ เอกชนมีส่วนร่วมในการคัดกรองและ เฝ้าระวังนักท่องเที่ยว
ผังจุดหมายปลายทางการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค บูรณาการระหว่างกรมอนามัยกับกรมควบคุมโรค ภายในปี 2553 (ระยะ 2 ปี) กำหนดเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2552 ระดับกระบวนการ ( มุมมองเชิง กระบวนการภายใน ) มีการประชาสัมพันธ์อย่าง ครอบคลุมและต่อเนื่องเชิงรุก 3 เวลา สร้างและขยายเครือข่าย สุขภาพกับตำบลใกล้เคียง เกิดการบริหารจัดการตาม หลักธรรมาภิบาลในเรื่อง เกี่ยวกับ H1N1 มีการสร้างนวัตกรรมในการ เฝ้าระวัง ควบคุมเกี่ยวกับ H1N1 มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้าน H1N1 ทุกสัปดาห์ ระดับพื้นฐานองค์กร ( มุมมองเชิงการเรียนรู้ และพัฒนา ) มีข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมของ คนในชุมชนเกี่ยวกับ H1N1 และสมุนไพรที่เป็นจริงและ ทันสมัย ทำงานเป็นทีมเชิงรุก ผู้นำเข้มแข็ง มีความรู้ ความสามารถในการป้องกันเชื้อ H1N1 มีการสร้างทายาทผู้นำที่มี ความรู้ความเข้าใจกระบวนทัศน์ เชิงบวกและเชิงรุกด้าน H1N1 ผู้นำมีคุณธรรมและจริยธรรม
หน่วยงานภาครัฐ ทำงานสอดคล้อง และเชิงรุก อปท. และท้องที่นำร่อง เรื่อง H1N1 ศอช. ภาคเอกชนและ กลุ่มองค์กรในชุมชนมี ความเข้มแข็งและ ทำงานเชิงรุก สร้างและขยายเครือข่าย เฝ้าระวัง H1 N2 ทั้ง ภายในและภายนอก อย่างเข้มแข็ง รวมทั้ง นวัตกรรม บุคลากร และทายาท ทำงานเป็นทีม ใน บรรยากาศที่เอื้ออำนวย ผู้นำมีศักยภาพ มี คุณธรรม จริยธรรม ความคิดเชิงบวก เชิง รุก ระบบข้อมูล พฤติกรรมและ ทรัพยากรของ ชุมชนเป็นจริง ทันสมัย ชุมชน มีระบบเฝ้า ระวังที่มี ประสิทธิภาพ ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน ประชาชนปรับเปลี่ยน พฤติกรรมในการ เฝ้าระวัง H1N1 บริหารจัดการตาม หลักธรรมา ภิ บาลในเรื่อง H1N1 ชุมชน มี มาตรการทาง สังคมที่เด็ดขาด ระบบสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ต่อเนื่อง เชิงรุก ประชาชนมีส่วนร่วม กำหนดและดำเนิน กิจกรรมฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุม H1N1 แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) การเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ตำบลเหมือง ใหม่ อ. อัมพวา จ. สมุทรสงคราม ภายในปี 2553
สวัสดี