ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพ ทรัพยากรบุคคล และสุขภาพภาคประชาชน
Advertisements

รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS)
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
ภารกิจนักสุขภาพครอบครัว
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
โรงเรียน อสม.ตำบลหนองไม้แก่น
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
แผนการประชุม จัดทำแผนปฏิบัติการ ๒๕๕๖
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA)
การสร้างแผนงาน/โครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
สรุปการประชุม เขต 10.
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
บุญเรือง ขาวนวล คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
ส่งเสริมสัญจร.
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลโพนทอง
นายแพทย์ปรเมษฐ์ กิ่งโก้ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ๒๔ กันยายน ๒๕๕๖.
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
ระบบสุขภาพชุมชน : คุณค่า และความดีงาม ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๖ มหกรรมกองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
คปสอ.เลิงนกทา เป็นองค์กรบริหารด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใส
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่ ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่

สิ่งที่เป็นอยู่

มีแต่คนสั่ง ไม่มีคนช่วยทำ รพสต. กสธ สสอ สสจ สปสช อบต สคร การเมือง มหาดไทย สภาฯ สภาพปัจจุบันของ รพสต.และ รพช. รพช. มีแต่คนสั่ง ไม่มีคนช่วยทำ

วิธีเอาตัวรอดในปัจจุบัน จริงหรือไม่ เดินตามช่อง มองแค่ที่เห็น เน้นตัวชี้วัด วิสัยทัศน์เอาไว้ท่องจำ งานที่ทำไม่มีความหมาย

Team (ไม่) Work

Health status ขณะนี้ของประชาชนดีขึ้น จริงหรือ?? มีโครงการมากมาย เช่น คัดกรอง dm,ht โปรแกรมสำรวจมีมาก จนท.ประชุมมากจนไม่มีเวลาทำงาน ใช้เวลาส่วนใหญ่กับการทำรายงาน(kpi) ข้อมูลดูดี มีจำนวนมาก แต่ไม่เป็นจริง(ใช้ประโยชน์ไม่ได้) แก้ปัญหาปลายเหตุ เช่น ต่างด้าว อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม กฎหมายที่มีอยู่ ใช้ไม่ได้, ไม่ได้ใช้(ค่ายลูกเสือ,EIA ,HIA,อาหาร) มีคนให้คำแนะนำ วิชาการมาก แต่ไม่มีคนทำหรือแก้ปัญหาไม่ได้ สธ.รับมาเป็นพระเอกมากไปทำให้ลดบทบาทคนอื่น

ภาพที่อยากเห็น

Essential Care ที่มา อ.สุรเกียรติ อาชานุภาพ 1. ผู้สูงอายุ ผู้ที่ต้องพึ่งพา สามารถได้รับการดูแล ได้ในชุมชน และที่บ้าน 2. โรคเรื้อรัง (เบาหวาน ความดันสูง ไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจ หืด ถุงลมปอดโป่งพอง วัณโรคปอด เอดส์ โรคไต โรคตับ มะเร็ง) 3. มีความเข้มแข็ง ของการควบคุมโรค ในท้องถิ่น เช่น ไข้เลือดออก และโรคไม่ติดต่อ 4 . งานส่งเสริมสุขภาพ - ป้องกันโรค - ควบคุมโรค - คัดกรองโรค อนามัยสิ่งแวดล้อม อนามัยแม่และเด็ก อาชีวอนามัย 5. ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน 6. สุขภาพฟัน 7. โรคจิตเวช - สุขภาพจิต 8. ผู้พิการ ( อัมพาต เบาหวานถูกตัดเท้า แผลเรื้อรัง) 9. เด็กเล็ก วัยรุ่น วัยทำงาน ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส คนยากคนจน 10. ผู้ป่วยระยะท้าย ที่มา อ.สุรเกียรติ อาชานุภาพ

เปลี่ยนจาก “รักษาโรค” เป็น “ดูแลความทุกข์” Suffering Suffer เป็นแนวคิดที่สื่อสารให้เข้าใจได้ง่าย ทุกคนที่ส่วนร่วมได้ง่าย เพราะ suffer ไม่มีใครเป็นเจ้าของ สร้างความเชื่อมโยงองค์รวมได้ง่าย เร้าความรู้สึกดี (empathy) และความรู้สึกอยากช่วยเหลือได้ง่าย เปลี่ยนจาก “รักษาโรค” เป็น “ดูแลความทุกข์”

ภาพที่อยากเห็น ประชาชนมีสุขภาวะ health status ของประชาชนดีขึ้น ประชาชนมีสุขภาวะ จนท .มีเวลา ทำงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีการบูรณาการทุกระดับ(จริงๆ) ทำให้เกิด information innovation intregation ที่ ใช้ได้ในบริบทจริงๆ ช่วยกันแก้ปัญหา (ไม่ใช่ว่าไม่รู้ แต่ทำไม่สำเร็จ อยากหาคนช่วยทำ) เป็นปัญหาร่วม ไม่ใช่ปัญหาเราคนเดียวหรือเราเป็นคนบอกปัญหาคนอื่นอย่างเดียว ภาพที่อยากเห็น

การร่วมมือของทุกภาคส่วน สาธารณสุข,อปท.,ภาคประชาชน,หน่วยงานต่างๆ สุขภาวะ การร่วมมือของทุกภาคส่วน สาธารณสุข,อปท.,ภาคประชาชน,หน่วยงานต่างๆ Expect to See Like to See Love to See ๕. คิด วางแผน ดำเนินการเอง สาธารณสุขเป็นพี่เลี้ยง ๔. ร่วมคิด วางแผน ร่วมดำเนินการ ๑. ให้ความร่วมมือ เข้าร่วมประชุม ๒. ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ๓. สนับสนุนงบประมาณ

รพ. + สสอ. + รพสต. + อปท.+ประชาสังคม เครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ District Health System การทำงานร่วมกันของ รพ. + สสอ. + รพสต. + อปท.+ประชาสังคม

vision District Health System:DHS "เครือข่ายบริการสุขภาพเข้มแข็ง บริหารจัดการปัญหาสุขภาพ (Health need) อย่างมีประสิทธิภาพ" District Health System:DHS

District Health System เครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ

THE END